Page 39 - JRISS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 39
34 Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018
วิธีดําเนินการวิจัย
1. กลุมเปาหมาย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนเทศบาล 7 (บานหนอง
ตะมะ พันทาโนนกอง ธนาคารกรุงเทพ 2) ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2560 จํานวน 36 คน
2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ประกอบดวย 1) แผนการจัดการเรียนรูวิทยาศาสตร
เรื่อง ชีวิตพืช โดยใชกระบวนการสอนแบบซิปปาโมเดล สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2
จํานวน 9 แผน ไดคา IOC เทากับ 0.93 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิทยาศาสตร เรื่อง ชีวิตพืช โดยใชกระบวนการสอนแบบซิปปาโมเดล ไดคา IOC เทากับ 0.95
จํานวนขอสอบ 60 ขอ เพื่อคัดเลือก 40 ขอ คาความยากงาย (p) เกณฑความยากของขอสอบ
กําหนดไวระหวาง 0.20 – 0.80 และคาอํานาจจําแนก (r) เกณฑอํานาจจําแนกของขอสอบ
กําหนดไว 0.20 – 1.00 ไดคาความยากงาย (p) = 0.66 และไดคาอํานาจจําแนก (r) = 0.35
และคา KR-20 เทากับ 0.775 และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมการ
เรียนรูวิทยาศาสตรเรื่อง ชีวิตพืช โดยใชกระบวนการสอนแบบซิปปาโมเดล
3. การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยดําเนินการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิทยาศาสตร ที่ผูวิจัยสรางขึ้นมาผานกระกบวนการหาคุณภาพแลวไปทดลองกับกลุมเปาหมาย
ตามคูมือแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูวิทยาศาสตรกอนทําการใชแผนการจัดการ
เรียนรูวิทยาศาสตร เรื่อง ชีวิตพืช โดยใชกระบวนการสอนแบบซิปปาโมเดล สําหรับนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 ตรวจใหคะแนนแลวเก็บขอมูล แลวดําเนินการสอนตามแผนการจัดการ
เรียนรูวิทยาศาสตร หลังจากเสร็จสิ้นการสอนแลวทําการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิทยาศาสตรหลังเรียน
4. การวิเคราะหขอมูล ดวยโปรแกรมสําเร็จรูปทางคอมพิวเตอร โดยการหาคารอย
ละ คาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การคํานวณหาประสิทธิภาพ (E 1/ E2) และการทดสอบ
คาที (t-test)
สรุปผลการวิจัย
1. การจัดกิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตร เรื่อง ชีวิตพืช โดยใชกระบวนการสอน
แบบซิปปาโมเดล สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 ที่สรางขึ้นทั้ง 9 กิจกรรมการเรียนรู
โดยรวมมีประสิทธิภาพระหวางเรียนและหลังเรียน เทากับ 87.28/86.98 โดยเรื่องที่ 1 เมล็ด
และสวนประกอบของเมล็ด เทากับ 87.04/85.28 เรื่องที่ 2 ปจจัยในการงอกของเมล็ด เทากับ
86.57/87.22 เรื่องที่ 3 ปจจัยในการดํารงชีวิตของพืช เทากับ 88.52/86.67 เรื่องที่ 4 การ
ตอบสนองตอแสงของพืช เทากับ 87.50/87.50 เรื่องที่ 5 การตอบสนองตออุณหภูมิและ
สภาพแวดลอมของพืช เทากับ 88.61/85.83 เรื่องที่ 6 การตอบสนองตอการสัมผัสของพืช
เทากับ 85.09/87.78 เรื่องที่ 7 การจําแนกประเภทของพืช เทากับ 85.28/86.67 เรื่องที่ 8