Page 41 - JRISS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 41
36 Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018
(2547, น..121 – 128) ที่พบวา การพัฒนากิจกรรมการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญวิชา
วิทยาศาสตรชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง โดยใชรูปแบบซิปปา การ
พัฒนากิจกรรมการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยใชรูปแบบซิปปา ชวยใหผูเรียนเกิดการ
เรียนรูไดจริงเต็มตามศักยภาพของแตละบุคคลดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผลปรากฏวา
นักเรียนสามารถทําคะแนนจากแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไดคิดเปนรอยละ 87.84
สูงกวาเกณฑกําหนดไวรอยละ 85 และมีจํานวนนักเรียนที่ผานเกณฑคิดเปนรอยละ 95.83
ของนักเรียนทั้งหมด ซึ่งชี้ใหเห็นวาการพัฒนากิจกรรมการเรียนรูตามรูปแบบซิปปาสามารถ
พัฒนาและเปลี่ยนแปลงการเรียนรูของผูเรียนไปในทางที่ดีมีคุณภาพ และสอดคลองกับ
การศึกษาของ จันที สิทธิศาสตร (2549, น.99 – 102) ที่พบวา การพัฒนาแผนการจัด
กิจกรรมการเรียนรูโดยใชซิปปา เรื่อง สมการเชิงเสนตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 มี
ประสิทธิภาพ 86.42/88.09 และสอดคลองกับการศึกษาของ ธนพงศธร ดวงพระเกษ (2550,
น.79 – 82) ที่พบวา แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบซิปปา เรื่องเพศศึกษา กลุมสาระการ
เรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 มีการพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการ
เรียนรูแบบซิปปามีประสิทธิภาพเทากับ 85.86/88.33 และสอดคลองกับการศึกษาของ
กนกวรรณ ภุศรีฐาน (2554, น.97 – 98) ที่พบวา การเปรียบเทียบการอานจับใจความ การ
คิดวิเคราะหและเจตคติตอกิจกรรมการเรียนรู ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ระหวาง
การจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบซิปปากับการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบปกติมีประสิทธิภาพ
เทากับ 89.45/87.16 และ86.06/85.25 ตามลําดับ
2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังการเรียนโดยการจัด
กิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตร เรื่อง ชีวิตพืช โดยใชกระบวนการสอนแบบซิปปาโมเดล
สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอน
เรียนอยางมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.01 เปนเพราะซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ จันที สิทธิ
ศาสตร (2549, น.99 – 102) ที่พบวา การพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชซิปปา
เรื่อง สมการเชิงเสนตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ผูศึกษาคนควาไดพัฒนาขึ้นมี
ประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑที่ตั้งไวและการจัดกิจกรรมการเรียนรูทําใหนักเรียนไดศึกษาคนควา
หาความรูดวยตนเอง จากการเรียนเปนกลุม รายบุคคลและการทํากิจกรรมรวมกัน ทําใหมี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น และสอดคลองกับการศึกษาของ กาญจนา กาฬภักดี (2550,
น. 84 – 88) ที่พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรและคานิยมทางวิทยาศาสตรดาน
การมีเหตุผลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ดวยกระบวนการเรียนรูแบบซิปปา นักเรียนที่
เรียนดวยกระบวนการเรียนรูตามรูปแบบซิปปามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรหลัง
เรียนสูงกวากอนเรียนและนักเรียนมีคานิยมทางวิทยาศาสตร ดานการมีเหตุผลหลังเรียนสูง
กวากอนเรียน และสอดคลองกับการศึกษาของ ยุพา ผึ่งฉิมพลี (2550, น. 86 – 90) ที่พบวา
กระบวนการจัดการเรียนรู วิชาชีววิทยา เรื่องการลาเลียงสารในรางกายของสิ่งมีชีวิต ชั้น