Page 42 - JRISS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 42

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018   37

                มัธยมศึกษาปที่ 1 โดยใชรูปแบบการสอนแบบซิปปา ทําใหนักเรียนมีพัฒนาการดานดาน
                ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น และสอดคลองกับการศึกษาของ อัญชนา  สายสรอย (2550, น.

                65 – 69) ที่พบวา การจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องเงินกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรชั้น
                ประถมศึกษาปที่ 2 โดยใชรูปแบบการสอนแบบซิปปา มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
                คณิตศาสตรเรื่อง เงิน โดยใชชุดการสอนแบบซิปปาหลังเรียนสูงกวากอนเรียน และสอดคลอง
                กับการศึกษาของ รชาดา  บัวไพร (2552, น. 87 – 93) ที่พบวา การจัดการเรียนการสอนโดย
                ใชรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบโมเดลซิปปาที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

                วิทยาศาสตร มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรสูงขึ้น และสอดคลองกับการศึกษา
                ของ ศศิมา  ทับทิม (2552, น. 94 – 96) ที่พบวา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง
                ระบบรางกายมนุษยดวยรูปแบบซิปปา มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องระบบรางกายของ

                มนุษยหลังเรียนสูงกวากอนเรียนและนักเรียนสนุกสนานกับการเรียน มีโอกาสไดทํากิจกรรม
                ดวยตนเอง จดจําบทเรียนไดดี มีความสามัคคีและมีสวนรวมในการเรียนรูมาก และสอดคลอง
                กับการศึกษาของ กนกวรรณ  ภุศรีฐาน (2554, น.97 – 98) ที่พบวา การเปรียบเทียบการอาน
                จับใจความ การคิดวิเคราะหและเจตคติตอกิจกรรมการเรียนรู ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาป

                ที่ 4 ระหวางการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบซิปปากับการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบปกติ
                นักเรียนมีความสามารถดานการอานจับใจความ การคิดวิเคราะหและเจตคติตอกิจกรรมการ
                เรียนรูหลังเรียนเพิ่มขึ้นจากกอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และสอดคลอง
                กับการศึกษาของ Dwyer (1990, p.17) ที่พบวา การใชรูปแบบการจัดการเรียนรูแบบซิปปา

                โมเดล ในการสอนเพื่อสรางแรงจูงใจในการพูดในหลักสูตรพื้นฐานทางภาษา แผนการจัดการ
                เรียนรูแบบซิปปา สามารถตอบสนองความตองการของผูเรียนแบบตางๆ แตละขั้นตอน ให
                ความสําคัญกับผูเรียนและใชกระบวนการทั้ง 7 ขั้นตอน การใชรูปแบบการจัดการเรียนรูแบบ
                ซิปปาพัฒนาแผนการสอนของครูในหนวยการเรียน พบวา ความสนใจและผลงานของนักเรียน

                ทั้งหมดดีขึ้น สามารถดึงความสนใจในการพูด ดวยแผนการจัดการเรียนรูที่จัดเตรียมให
                นักเรียนไดมีโอกาสในการฝกหัดที่เหมาะสม ไดแสดงความคิดใหมๆ ไดกระทําและเรียนรูดวย
                ตนเองและมีสวนรวมกับผูเรียนคนอื่นๆ
                       3. ความพึงพอใจตอการเรียนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตร เรื่อง ชีวิต

                พืช โดยใชกระบวนการสอนแบบซิปปาโมเดล สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 โดยรวม
                มีความพึงพอใจอยูในระดับมากที่สุด เปนเพราะสอดคลองกับการศึกษาของ ธนพงศธร  ดวง
                พระเกษ (2550, น.79 – 82) ที่พบวา แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบซิปปา เรื่อง
                เพศศึกษา กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 นักเรียนมีเจต

                คติตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบซิปปาอยูในระดับดีมากที่สุด และสอดคลองกับการศึกษา
                ของ ยุพา  ผึ่งฉิมพลี (2550, น. 86 – 90) ที่พบวา กระบวนการจัดการเรียนรู วิชาชีววิทยา
                เรื่องการลาเลียงสารในรางกายของสิ่งมีชีวิต ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โดยใชรูปแบบการสอนแบบ
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47