Page 36 - JRISS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 36

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018   31

                Topic 5: Plant Response to Temperature and Environment 88.61/85.83; Topic 6:
                Plant Response to Touch 85.09/87.78; Topic 7: Plant Classification 85.90/86.67;

                Topic 8: Plant Benefit 90.65/88.06; and Topic 9: Plant Care 86.30/87.78 All topics
                had efficiency 85/85 as criterion.
                       2. The comparison of learning achievement before and after learning
                with science learning activities on “Plant Life” by using CIPPA teaching model
                for second grade students revealed that after learning was higher than before

                at statically significant 0.01 level.
                       3. The overall satisfaction of science learning activities on “Plant Life”
                by using CIPPA Teaching model for second grade students was at the highest.

                When considering each aspect, it was found that the highest level was enjoying
                various activities followed by applying activities to modern daily life, gaining
                experience  towards  the objectives of  the curriculum,  and being able to
                understand story more easily, respectively.

                Keywords:  Development  of  Science Learning  Activities, Plant Life,  CIPPA
                Teaching Model, Second Grade Students

                บทนํา

                        วิทยาศาสตรมีบทบาทสําคัญยิ่งในสังคมโลกปจจุบันและอนาคตเพราะวิทยาศาสตร
                เกี่ยวของกับทุกคนทั้งในชีวิตประจําวันและการงานอาชีพตางๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครื่องมือ
                เครื่องใชและผลผลิตตางๆ ที่มนุษยไดใชเพื่ออํานวยความสะดวกในชีวิตและการทํางาน
                เหลานี้ลวนเปนผลของความรูวิทยาศาสตรผสมผสานกับความคิดสรางสรรคและศาสตรอื่นๆ

                เขาดวยกัน วิทยาศาสตรชวยใหมนุษยไดพัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเปนเหตุเปนผล คิด
                สรางสรรค คิดวิเคราะห วิจารณ มีทักษะสําคัญในการคนควาหาความรู มีความสามารถในการ
                แกปญหาอยางเปนระบบ สามารถตัดสินใจโดยใชขอมูลที่หลากหลายและมีประจักษพยานที่
                ตรวจสอบได วิทยาศาสตรเปนวัฒนธรรมการเรียนรูโลกสมัยใหม ซึ่งเปนสังคมแหงการเรียนรู

                ดังนั้น ทุกคนจึงจําเปนตองไดรับการพัฒนาใหรูวิทยาศาสตร เพื่อที่จะมีความรูความเขาใจใน
                ธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษยสรางสรรคขึ้น สามารถนําความรูไปใชอยางมีเหตุผล
                สรางสรรคและมีคุณธรรม การเรียนรูเกี่ยวกับธรรมชาติ กระบวนการสังเกต สํารวจตรวจสอบ
                และการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณทางธรรมชาติและนําผลมาจัดระบบ การเรียนการสอน

                วิทยาศาสตรจึงมุงเนนใหผูเรียนไดเปนผูเรียนรูและคนพบดวยตนเองมากที่สุด
                (กระทรวงศึกษาธิการ, 2552, น.38-46) ซิปปาโมเดลเปนรูปแบบการจัดการเรียนรูอีกรูปแบบ
                หนึ่งที่ชวยใหผูเรียนไดมีการพัฒนาทางดานรางกาย สติปญญา อารมณและสังคมไดเปนอยาง
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41