Page 15 - JRISS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 15

10  Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018

             ประเด็นแนวโนมการวิจัยในอนาคตของไทยและญี่ปุน มีความคลายคลึงกันในดานปริมาณ
             งานวิจัยที่จะมีเพิ่มขึ้น โดยไทยจะมีอัตราการเพิ่มที่สูงกวาของญี่ปุน และสัดสวนระหวาง

             ปริมาณงานวิจัยของไทยกับญี่ปุนจะลดลงจากปจจุบัน ในอนาคตทั้งไทยและญี่ปุนจะเพิ่ม
             งบประมาณการวิจัย สงเสริมการวิจัยขนาดใหญ การวิจัยสหวิทยาการและจะระดมทุนจาก
             ภาคเอกชนเขามาสนับสนุนการวิจัยมากขึ้น การสงเสริมการวิจัยจะมีหลายรูปแบบขึ้น ปญหา
             การทําวิจัยจะลดลง จะมีการสรางเครือขายขอมูลงานวิจัยทั้งระดับประเทศและระดับ
             นานาชาติ และเผยแพรงานวิจัยผานระบบ internet และเครือขายขอมูลอื่นๆ เพิ่มขึ้น (สุวิมล

             วองวาณิช และคณะ, 2541)
                     5) การปฏิบัติงานของอาจารยมหาวิทยาลัย
                       ในสังคมญี่ปุน ครูอาจารยเปนอาชีพที่มีเกียรติ มีสถานะทางสังคมสูง เปนผลมา

             จากการที่กฎหมายญี่ปุนและประชาชนคาดหวังในหนาที่ของครู สังคมคาดหวังวาครูจะชวย
             ปลูกฝงทัศนคติของสังคมลงในตัวเด็ก เพราะการสอนนั้นรวมถึงการสอนเรื่องคุณธรรม
             จริยธรรม และการพัฒนาอุปนิสัยของเด็ก
                       เรืองศักดิ์ แกวธรรมชัย (2556) กลาวถึงระบบอาจารยที่ปรึกษามหาวิทยาลัย

             ญี่ปุน ไววาในระดับมหาวิทยาลัยจะมีอาจารยที่ปรึกษา 2 ระดับ คือ อาจารยที่ปรึกษาทาง
             วิชาการในป 1 จากนั้นป 2 เปนตนไปจะมีอาจารยรายวิชาสัมมนา และโดยเฉลี่ยนักศึกษาสาย
             สังคมศาสตรจะพบอาจารยที่ปรึกษา 1 ครั้ง/สัปดาห และพบ 5 ครั้ง/สัปดาห สําหรับนักศึกษา
             สายวิทยาศาสตร กลาวไดวา อาจารยที่ปรึกษาของญี่ปุนจะใหคําปรึกษาไดใกลชิดมากกวา

                       ระบบการปฏิบัติงานของอาจารยสายสังคมศาสตรของญี่ปุนไมตางจากไทยมาก
             นัก คือ สวนใหญแลวอาจารยจะเจอนักศึกษาในรายวิชาสัมมนา กลับกันกับสายวิทยาศาสตรที่
             อาจารยและนักศึกษาจะมีหองพักติดกัน ทําใหนักศึกษาญี่ปุนผูกพันกับอาจารยคอนขางสูง ใน
             สวนของคาตอบแทนในการทํางาน โดยเงินเดือนเริ่มตนของอาจารยคุณวุฒิปริญญาเอกที่จบ

             ใหมของมหาวิทยาลัยเอกชนญี่ปุนอยูที่ 1-1.5 แสนบาท ระเบียบในการปฏิบัติงานของอาจารย
             ญี่ปุนไมสามารถทํางาน Part Time ได และไมจําเปนตองทํางานเพิ่มเติมเนื่องจากมีรายได
             เพียงพอ

                       วลัยพร แสงนภาบวร และคณะ (2550) กลาวถึงการบริหารงานบุคคลสําหรับครู
             และบุคลากรทางการศึกษาวามีความแตกตางจากบุคลากรอื่น ๆ กลาวคือ เปนอาชีพที่ตองใช
             ความรูความสามารถเฉพาะทาง จึงมีกระบวนการคัดเลือกและฝกอบรมอยางเปนระบบ มี
             ระบบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ครูมีรายไดจากเงินเดือน โบนัส และคาตอบแทนอื่น ๆ ที่สูง
             กวาขาราชการพลเรือนทั่ว ๆไป ครูมีรายไดดี และมีการปรับเงินเดือนของครูอยูเปนระยะ ๆ

             เงินเดือนเริ่มตนของครูเปนที่นาพึงพอใจเมื่อเทียบกับอาชีพทางวิชาการอื่น ๆ และในบางครั้งก็
             สูงกวา นอกจากเงินเดือนแลว ครูยังมีสิทธิ์รับเงินพิเศษตาง ๆ และโบนัส (จายเปน 3 งวด) ซึ่ง
             มีจํานวนประมาณหาเทาของเงินเดือน ครูจะไดรับการดูแลสุขภาพ และสวัสดิการหลังเกษียณ
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20