Page 20 - JRISS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 20
Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018 15
ใหนักศึกษาไดมีความใกลชิดกับอาจารยมากกวา รวมถึงการสอนภาษาที่ 3 ในระบบ
มหาวิทยาลัย ทั้งประเทศไทยและประเทศญี่ปุนมีจุดดอยทางดานภาษาเหมือนกัน แตในดาน
การสอน ประเทศญี่ปุนจะเนนใหนักศึกษาสามารถสื่อสารได และเขาใจถึงวัฒนธรรม สวนใน
ประเทศไทยจะเนนการสอนในเรื่องหลักการใชภาษา
แนวทางการนําระบบการศึกษาญี่ปุนมาปรับใชในระบบการศึกษาของไทย คือการ
พัฒนาการศึกษาอยางตอเนื่องและตลอดเวลา เนนการสอนแบบปฏิบัติ ใหผูเรียนสามารถตอ
ยอดความรูที่ไดมากกวาการทองจํา ทั้งนี้ก็ควรคํานึงถึงบริบทของตาง ๆ ที่มีความแตกตางกัน
ดวย
รายการอางอิง
เจษฎา แกววรา, ชาตรี มณีโกศล, และยุพิน อินทะยะ. (2559). การศึกษาเปรียบเทียบ
หลักสูตรระดับประถมศึกษาของประเทศไทยกับประเทศญี่ปุน. วารสารบัณฑิตวิจัย,
7(2), 168-18.
ปานเพชร ชินินทร และคณะ. (2552). การพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่บูรณา
การการเรียนรูกับการทํางานในสถาบันอุดมศึกษา (Work-Integrated Learning).
กรุงเทพมหานคร: สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.
มนตรี แยมกสิกร. (2548). ระบบการผลิตและพัฒนาครูของประเทศญี่ปุน (Teacher
Training System in Japan). วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา, 16(2), 41-
60.
เรืองศักดิ์ แกวธรรมชัย. (2556). โครงการระบบการศึกษาของไทยกับญี่ปุน. กรุงเทพมหานคร:
คณะบริหารธุรกิจ สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน.
วลัยพร แสงนภาบวร และคณะ. (2550). การกระจายอํานาจทางการศึกษาของประเทศญี่ปุน
(รายงานการวิจัย). กรุงเทพมหานคร: สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ.
สุวิมล วองวาณิช และคณะ. (2541). การศึกษาเปรียบเทียบสภาพและแนวโนมการวิจัยทาง
การศึกษาในประเทศไทยและญี่ปุน. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานคณะกรรมการวิจัย
แหงชาติ.
สมาคมที่ประชุมอธิการบดีแหงประเทศไทย. (2560). การชี้แจงระบบการคัดเลือกบุคคลเขา
ศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา. สืบคนจาก http://tcas.cupt.net/src/tcas61-
detail.pdf
สมชัย ฤชุพันธ และคณะ. (2550). การศึกษาเปรียบเทียบระบบงบประมาณเพื่อการศึกษาของ
ประเทศไทยกับประเทศตางๆ (รายงานการวิจัย). กรุงเทพมหานคร: สํานักงาน
เลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.