Page 14 - JRISS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 14

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018   9

                สนับสนุนจากภาครัฐ และภาคเอกชนอาจสนับสนุนงบวิจัยใหมหาวิทยาลัยอยูบาง เรืองศักดิ์
                แกวธรรมชัย (2556) ยกตัวอยางประเทศที่พัฒนาแลววาจะมีงบวิจัยสูงมาก ตัวอยางเชน

                บริษัทซัมซุงของประเทศเกาหลี ที่จะสนับสนุนเงินไปยังมหาวิทยาลัย แลวใหอาจารยที่มี
                ความสามารถเดนๆ คิดนวัตกรรมเพื่อเอาไปตอยอด สวนของไทยงบฯวิจัยมีไมถึง 1% ของจีดี
                พี (ผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ) อาจเปนเพราะบริษัทไทยกําลังอยูในชวงคาบเกี่ยวจาก
                การเปนผูรับจางผลิตไปสูการเปนผูผลิต การใหงบฯวิจัยกับมหาวิทยาลัยจึงไมมากเทาประเทศ
                ที่เปนผูผลิต แตบริษัทที่อยากมีนวัตกรรมของตัวเองจะใหความสําคัญกับเรื่องนี้อยางมาก

                เพราะจะสงผลตอการเปนผูนําทางธุรกิจในอนาคต
                        4) การสงเสริมการทําวิจัย
                          ประเทศญี่ปุน มีหนวยงานระดับชาติที่มีเอกภาพในการบริหารจัดการเกี่ยวกับการ

                วิจัยทางการศึกษาโดยตรง ทําใหประเทศญี่ปุนสามารถพัฒนางานวิจัยทั้งทางดานปริมาณและ
                คุณภาพไดสะดวกและมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ งานวิจัยของญี่ปุนไดนับรวมงานที่เปนการรวบรวม
                ขอมูลทางสถิติเอาไวดวยทั้งมหาวิทยาลัยและโรงเรียนในประเทศญี่ปุนมีจํานวนมากกวาไทย
                มาก จึงเปนสวนสําคัญที่ทําใหญี่ปุนมีปริมาณงานวิจัยที่สูงกวาไทย งานวิจัยของญี่ปุนมาจาก

                ภาคเอกชนมากและเนนดานการวัดและประเมินผลนอยมาก สวนใหญเปนวิจัยเชิงสํารวจมาก
                ที่สุด โดยรองลงมาเปนการทําวิจัยเชิงวิเคราะห และประวัติศาสตร และทําวิจัยเชิงทดลอง
                นอยที่สุด ซึ่งญี่ปุนจะทําวิจัยเชิงประวัติศาสตร/พื้นฐานการศึกษา การศึกษานอกระบบ
                โรงเรียน การศึกษาปฐมวัยและการศึกษาพิเศษ ญี่ปุนเนนทําวิจัยในระดับอุดมศึกษามากที่สุด

                สวนนักวิจัยญี่ปุน มีปญหาในเรื่องการเก็บขอมูล และการขาดผูชวยวิจัย แตมีระดับปญหา
                เกี่ยวกับงบประมาณ อุปกรณ สิ่งอํานวยความสะดวก ระบบขอมูลสารสนเทศและแหลง
                คนควานอย โดยญี่ปุนมีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยวิจัย ศูนยประสานงานนักวิจัยนานาชาติ และ
                ศูนยวิจัยระดับทองถิ่นขึ้นดวย

                          ประเทศไทยยังไมมีหนวยงานระดับชาติที่เขามาจัดการเกี่ยวกับการวิจัยทาง
                การศึกษาโดยตรง งานวิจัยของไทยมาจากภาคเอกชนนอยมาก ซึ่งเนนวิจัยดานการวัดและ
                ประเมินผลเปนจํานวนมาก ไทยทําวิจัยในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษามากที่สุด ซึ่ง

                วิจัยเชิงทดลองเปนอันดับรองจากวิจัยเชิงสํารวจ นักวิจัยไทยประสบปญหาการมีเวลาทําวิจัย
                นอย และขาดแรงจูงใจจากผูบริหาร โดยไทยจะมุงจัดทําระบบเครือขายขอมูลการวิจัย
                ระดับประเทศ จัดระบบการประกันคุณภาพงานวิจัย และสงเสริมการวิจัยดวยรูปแบบและวิธี
                ใหมๆ เพิ่มขึ้น
                          นักวิจัยไทยและญี่ปุน ทําวิจัยโดยพิจารณาจากนโยบายและแผนการศึกษาชาติ

                ความตองการของหนวยงานความถนัดและความสนใจของผูวิจัยและความตองการของแหลง
                ทุน โดยทั้งประเทศไทยและญี่ปุนยังขาดระบบการประเมินคุณภาพงานวิจัยที่เหมาะสม
                รวมทั้งการเผยแพรผลงานวิจัยและนําผลงานวิจัยไปใช ยังทําไมไดมากเทาที่ควร ถากลาวถึง
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19