Page 10 - JRISS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 10

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018   5

                โดยเฉพาะในระดับมหาวิทยาลัยมีอิทธิพลตอการศึกษาทั้งระบบเปนอยางมาก รัฐบาลไมได
                เปนผูสนับสนุนทางการศึกษาแตเพียงผูเดียว โรงเรียนเอกชนก็มีบทบาทสําคัญในดาน

                การศึกษา รวมถึงโรงเรียนที่อยูนอกระบบเชนวิทยาลัยของเอกชน ก็มีบทบาทสําคัญใน
                การศึกษาและเปนสวนมากในการศึกษา (ชวลิต ชูกําแพง, 2553)
                        เด็ก ๆ ชาวญี่ปุนสวนใหญจะเขาโรงเรียนตั้งแตชั้นอนุบาล แมวาจะไมใชสวนหนึ่งของ
                ระบบการศึกษาก็ตาม ระบบการศึกษาเปนภาคบังคับ เลือกโรงเรียนไดอิสระและใหการศึกษา
                ที่พอเหมาะแกเด็ก ๆ ทุกคนตั้งแตเกรด 1 (เทียบเทา ป.1) จนถึง เกรด 9 (เทียบเทา ม.3) สวน

                เกรด 10 ถึงเกรด 12 (ม.4 - 6) นั้นไมบังคับ แต 94% ของนักเรียนที่จบชั้นมัธยมตน เขาศึกษา
                ตอชั้นมัธยมปลาย ประมาณ 1 ใน 3 ของนักเรียนที่จบชั้นมัธยมปลายเขาศึกษาตอในระดับ
                มหาวิทยาลัย 4 ป junior colleges 2 ป หรือเรียนตอที่สถาบันอื่น ๆ

                      จากความเปนมาดังกลาวและการเลือกศึกษาดูงานเชิงวิชาการ เห็นไดวาการศึกษาของ
                ประเทศไทยกับประเทศญี่ปุน ซึ่งเริ่มตนในเวลาใกลเคียงกัน แตมีผลลัพธทางการศึกษาที่
                แตกตางกัน และญี่ปุนยังสามารถยกระดับการศึกษาใหอยูในระดับแนวหนาของโลกได
                โดยเฉพาะความสําเร็จของระบบการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย ซึ่งเปนเงื่อนไขสําคัญหนึ่ง

                สําหรับการประสบความสําเร็จในงานและในสังคมของคนญี่ปุน  ดังนั้น ผูเขียนจึงสนใจศึกษา
                เปรียบเทียบระบบการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยของประเทศไทยกับประเทศญี่ปุนตามบริบท
                ตาง ๆ ของระบบการศึกษา ทั้งหมด 7 ดาน ประกอบดวย 1) ระบบการศึกษาระดับ
                มหาวิทยาลัย 2) นโยบายและปรัชญาการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย 3) การสนับสนุนจาก

                ภาครัฐ 4) การสงเสริมการทําวิจัย 5) การปฏิบัติงานของอาจารยมหาวิทยาลัย 6) การสอบ
                และการคัดเลือกเขามหาวิทยาลัย และ 7) การสอนภาษาที่ 3 ในระดับมหาวิทยาลัย พรอมทั้ง
                นําเสนอแนวทางการนําระบบการศึกษาญี่ปุนมาปรับใชในระบบการศึกษาของไทย เพื่อนําไปสู
                การพัฒนาเชิงปฏิบัติในบริบทที่เหมาะสมกับนักเรียนไทย


                การเปรียบเทียบการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยของประเทศไทยและประเทศญี่ปุน
                (The comparative of Thai and Japanese higher education) ใน 7 ดาน ดังนี้

                        1) ระบบการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย
                          ประเทศญี่ปุน จัดระบบการศึกษาในระบบไวเปน 6-3-3-4 คือระดับประถมศึกษา
                6 ป มัธยมศึกษาตอนตน 3 ป มัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ป วิทยาลัยเทคนิค วิทยาลัย
                อาชีวศึกษา มหาวิทยาลัย 4 ป ซึ่งในระดับมหาวิทยาลัยในประเทศญี่ปุนจะกําหนดหลักสูตร
                และระยะเวลาในระดับปริญญาตรี 4 ป, ระดับปริญญาโท 2 ป และระดับปริญญาเอก 3 ป

                การเรียนในระดับมหาวิทยาลัยจะมีคณะอักษรศาสตร สาขานิเทศศาสตร และคณะ
                วิศวกรรมศาสตร สาขาสถาปตยกรรมศาสตร ซึ่งก็จะมีแยกยอยลงไปอีกในแตละสาขา ซึ่งจะมี
                สาขายอยลงไปอีก ซึ่งจะเริ่มภาคการศึกษาในเดือนเมษายนของแตละป โดยจะแบงภาค
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15