Page 19 - JRISS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 19

14  Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018

             learning เปนการเรียนรูโดยใชปญหาเปนแนวทางในการพัฒนาความรูบวกกับประสบการณ
             ของผูเชี่ยวชาญในสถานประกอบการณที่ใหคําแนะนําในการแกไขปญหาในการทํางาน ทําให

             ผูเรียนสามารถแกไขปญหาและเกิดการเรียนรู อาจไดนวัตกรรมหรือองคความรูใหมจากการ
             แกไขปญหานั้น ในระดับมหาวิทยาลัยควรมีการฝกความพรอมของการไปประกอบวิชาชีพ
             ผูเรียนเปนทั้งผูเรียนและสรางความรู ผูเรียนจะเปนผูสรางสรรคประสบการณของตนเองและ
             ประสบการณคือองคประกอบพื้นฐานของแรงกระตุนใหเกิดการเรียนรู
                     นอกจากนี้ วลัยพร แสงนภาบวร และคณะ (2550) ไดเสนอมุมมองดานหลักความ

             เปนกลางทางการเมือง ทั้งในกฎหมายการศึกษาแหงชาติของญี่ปุน และกฎหมายเกี่ยวกับ
             คณะกรรมการการศึกษามีขอกําหนดเพื่อเปนหลักประกันวา การศึกษาจะตองปลอดจากการ
             แทรกแซงหรืออิทธิพลทางการเมือง คณะกรรมการการศึกษาจะตองไมเปนสมาชิกพรรค

             การเมืองเดียวกันเกินกวาครึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการ ซึ่งประเทศไทยก็ควรมีการจัดตั้ง
             คณะกรรมการการศึกษาที่เนนการมีสวนรวมของทุกฝาย เนนความเสมอภาคและเปนกลาง
             ทางการเมืองเชนประเทศญี่ปุน


             บทสรุป
                     จากการศึกษาและวิเคราะหเอกสาร รวมถึงการศึกษาดูงานเชิงวิชาการ ณ ประเทศ
             ญี่ปุน ถึงระบบการศึกษาของประเทศญี่ปุน พบวา ระยะเวลาในการเรียนตอระดับ
             มหาวิทยาลัยของประเทศไทยและประเทศญี่ปุนนั้นเทากัน คือ ระดับปริญญาตรี 4 ป ระดับ

             ปริญญาโท 2 ป และระดับปริญญาเอก 3 ป แตประเทศญี่ปุน ผูที่มีความสามารถมี
             ประสบการณเพียงพอในการทําวิทยานิพนธ จะสามารถสงประเมินผานแควิทยานิพนธไดโดย
             ไมตองเขาระบบ การเรียนการสอนในระบบมหาวิทยาลัยเนนการเรียนเชิงปฏิบัติการ และมี
             มหาวิทยาลัยเฉพาะทางที่สามารถรองรับอาชีพ ความตองการของตลาดแรงงานไดมากกวา

             ประเทศไทย ทั้งนี้ประเทศไทยและประเทศญี่ปุนมีปรัชญาทางการศึกษาและนโยบายทางการ
             ศึกษาที่คลายกัน คือ การมุงเนนพัฒนาคนดวยความรู เพื่อสรางสรรคนวัตกรรมในการพัฒนา
             ความเจริญของประเทศ มหาวิทยาลัยในประเทศญี่ปุนทั้งเอกชนและรัฐบาลจะไดรับการ

             สนับสนุนดานการศึกษาจากกระทรวงศึกษาธิการรวมถึงภาคเอกชน สําหรับประเทศไทยหลาย
             มหาวิทยาลัยออกนอกระบบ และภาคเอกชนมีอิสระในการบริหารจัดการ บางมหาวิทยาลัย
             เนนจํานวนผูเรียนมากกวาคุณภาพ ในประเทศญี่ปุนมีหนวยงานระดับชาติในการจัดการ
             เกี่ยวกับวิจัยทางการศึกษาโดยตรง ซึ่งในประเทศไทยยังไมมี จึงทําใหญี่ปุนมีปริมาณงานวิจัยที่
             สูงกวาไทย แตในขณะเดียวกันทั้งประเทศไทยและประเทศญี่ปุนก็ขาดการประเมินงานวิจัยที่

             เหมาะสม รวมทั้งการเผยแพรผลงานวิจัยและนําผลงานวิจัยไปใช ยังทําไมไดมากเทาที่ควร
             การปฏิบัติงานของอาจารยมหาวิทยาลัยในประเทศญี่ปุนคาตอบแทนของอาจารย
             มหาวิทยาลัยคอนขางสูงกวาในประเทศไทย และประเทศญี่ปุนมีระบบอาจารยที่ปรึกษาที่เอื้อ
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24