Page 17 - JRISS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 17

12  Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018

                       ในปจจุบัน ประเทศไทยมีการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาใน
             ระบบกลาง (Thai university Central Admission System)  หรือ TCAS โดยที่ประชุม

             อธิการบดีแหงประเทศไทย (ทปอ.) มีการรับสมัครสอบทั้งสิ้น 5 รอบ คือ รอบที่ 1 : การรับ
             ดวยแฟมสะสมผลงาน (Portfolio) โดยไมมีการสอบขอเขียน รอบที่ 2 : การรับแบบโควตาที่มี
             การสอบปฏิบัติและขอเขียน รอบที่ 3 : การรับตรงรวมกัน รอบที่ 4 : การรับแบบแอดมิดชั่น
             เดิม และ รอบที่ 5 : การรับตรงแบบอิสระ (รอบ     เก็บตก) โดยเปนการจัดสอบหลังเด็กจบ
             การศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 แลว ซึ่งเปนการเพิ่มโอกาสความเทาเทียมในการเขา

             มหาวิทยาลัย ลดปญหาการกันสิทธิ์คนอื่น ลดปญหาการวิ่งรอกสอบและลดความตึงเครียด
             ของนักเรียน รวมทั้งลดภาระคาใชจายของผูปกครอง (สมาคมที่ประชุมอธิการบดีแหงประเทศ
             ไทย, 2560)

                     7) การสอนภาษาที่ 3 ในระบบมหาวิทยาลัย
                       ประเทศญี่ปุน มีระบบกการเรียนการสอนที่มีการปรับปรุงไปตามยุคสมัย อยาง
             การศึกษาระดับมัธยมหรือแมแตในรั้วมหาวิทยาลัย จะมีหลักสูตรที่เนนภาษาอังกฤษมากขึ้น ที่
             จังหวัดอาคิตะก็มีมหาวิทยาลัยที่เปดสอนแบบหลักสูตรอินเตอรใชภาษาอังกฤษในการสื่อสาร

             มีนักเรียนแลกเปลี่ยนเขามาเรียน มีหองสมุดขนาดใหญใหนักศึกษาหาความรู บวกกับ
             บรรยากาศและสภาพแวดลอมภายในสถานศึกษา นับตั้งแตป 2526 เปนตนมา รัฐบาลญี่ปุนมี
             นโยบายที่จะรับนักศึกษาตางชาติเพิ่มมากขึ้น โดยตั้งเปาไววาในศตวรรษที่ 21 จะรับนักศึกษา
             ตางชาติจากทั่วโลกใหไดถึง 100,000 คน และดวยนโยบายนี้เองทําใหทางรัฐบาลญี่ปุนตองเรง

             มือในการพัฒนาระบบการศึกษาและวางแผนการเพื่อแกปญหา ลดอุปสรรค และใหความ
             ชวยเหลือนักศึกษาตางชาติดวยวิธีการตาง ๆ โดยมุงหวังใหนักศึกษาตางชาติไดมีโอกาสเก็บ
             เกี่ยวความรูและประสบการณ ในการศึกษาตอที่ประเทศญี่ปุนใหมากที่สุด และสามารถนํา
             ความรูที่ไดไปใชในการพัฒนาประเทศบานเกิดเมืองนอน หลังจากสําเร็จการศึกษา เชน

                       1) การกระจายขอมูลเกี่ยวกับการศึกษาตอประเทศญี่ปุนใหทั่วถึงยิ่งขึ้น ทั้งในสวน
             การจัดตั้งศูนยบริการขอมูลในประเทศตาง ๆ การจัดนิทรรศการศึกษาตอประเทศญี่ปุน รวม
             ไปถึงการบริการขอมูลทางอินเตอรเน็ต

                       2) การใหความชวยเหลือทางดานการเงิน ไดแกการใหทุนการศึกษาสําหรับ
             นักศึกษาทุนสวนตัวที่มีผลการเรียนดี (ที่เรียนอยูในประเทศญี่ปุนอยูแลว), การลดคาเลาเรียน
             สําหรับนักศึกษาตางชาติ
                       3) การใหความชวยเหลือในเรื่องของชีวิตความเปนอยู, ที่พักอาศัย ไดแก การ
             สรางที่พักเพื่อรองรับนักศึกษาตางชาติเพิ่มมากขึ้น, ติดตออาคารพนักงานบริษัทใหนักศึกษา

             เชาในราคาถูก, องคกรทองถิ่นตาง ๆ ก็มีการจัดตั้งศูนยสงเสริมความสัมพันธและใหความ
             ชวยเหลือชาวตางชาติเพิ่มมากขึ้น
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22