Page 12 - JRISS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 12

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018   7

                          รูปแบบการจัดการเรียนการสอนในระดับมหาวิทยาลัยของญี่ปุน จะเนนไปที่
                การเรียนรูเชิงประสบการณ (Experiential learning) ใชรูปแบบ Internship และการเรียนรู

                เชิงบูรณาการกับการทํางาน (Work integrated learning) ใชรูปแบบ Cooperative
                Education ปจจัยและเงื่อนไขของความสําเร็จของการเรียนในระดับมหาวิทยาลัย คือ การ
                เรียนสลับกับการทํางาน กําหนดระยะเวลาการทํางานไวชัดเจนภายใตหลักบูรณาการทฤษฎี
                และการเพิ่มขีดความสามารถในการจางงานของบัณฑิต การฝกงานที่เนนการเรียนรูหรือการ
                ติดตามพฤติกรรมโดยสถานประกอบการ  (ปานเพชร ชินินทร และคณะ, 2552)

                          ลักษณะการจัดการเรียนการสอนในระดับมหาวิทยาลัยของญี่ปุน วาจะมี
                จํานวนรายวิชาที่เนนการสัมมนาหรือเชิงปฏิบัติการเปนสวนใหญ โดยเฉลี่ยแลวมีรายวิชาดาน
                นี้ประมาณ 33% และมีทุกเทอม โดยนักศึกษาญี่ปุนจะไดฝกการคิดและวิเคราะหมากกวา ซึ่ง

                ทําใหเมื่อเรียนจบแลว บัณฑิตญี่ปุนรูจักการตอยอดและสามารถทํางานไดทันที  ซึ่งญี่ปุนมีจุด
                แข็งดานการเรียนการสอนที่มีการวางแผนอยางเปนระบบตั้งแตป 1-4 ทําใหนักศึกษารูวาตอง
                เตรียมตัวอยางไร และเขาจะไมเนนการสอนแบบ What เพราะเปนเพียงแคเรื่องความจํา แต
                จะเนน Why และ How to มากกวา (เรืองศักดิ์ แกวธรรมชัย, 2556)

                          ในสวนของประเทศไทย มีการกําหนดหลักสูตรและระยะเวลาเหมือนกับประเทศ
                ญี่ปุน คือในระดับปริญญาตรี 4 ป, ระดับปริญญาโท 2 ป และระดับปริญญาเอก 3 ป จะมี
                คณะอักษรศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร
                          ลักษณะการจัดการเรียนการสอนในระดับมหาวิทยาลัยของไทย มีจํานวน

                รายวิชาที่เนนการสัมมนาหรือเชิงปฏิบัติการโดยเฉลี่ยแลวมีประมาณ 10% และมีในบางเทอม
                โดยนักศึกษาไทยจะเนนความจํา ซึ่งทําใหเมื่อเรียนจบแลว บัณฑิตไทยอาจตองใชระยะเวลาใน
                การปรับตัว ดังนั้น ระดับมหาวิทยาลัยของไทยควรจะเพิ่มรายวิชาที่เนนการคิดวิเคราะห หรือ
                ฝกปฏิบัติมากขึ้น ไปอยูที่ 30%

                          การมุงเนนความเปนเฉพาะทาง โดยมหาวิทยาลัยไทยจะพยายามทําตัวใหมี
                ขนาดใหญขึ้น หรือทําใหมีวิชาที่หลากหลาย ไทยนาจะสรางมหาวิทยาลัยที่มีความเปนเฉพาะ
                ทางมากขึ้น เชน มหาวิทยาลัยวิชาชีพ หรือมหาวิทยาลัยแหงองคกรภาคธุรกิจ
                        2) นโยบายและปรัชญาการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย

                          ประเทศญี่ปุนมีปรัชญาการศึกษา โดยมุงเนนการสรางความมั่งคั่งและพัฒนา
                ระบบการศึกษา เพื่อปลูกฝงเยาวชนใหมีความรับผิดชอบในอนาคตของประเทศ เนนคุณคา
                ของการระลึกถึงเพื่อนมนุษยและการมีสวนรวมอยางเขมแข็งในสังคมนานาชาตินโยบาย
                การศึกษา และในประเทศญี่ปุน มีนโยบายดานการศึกษา ดังนี้

                          1) จะสอนศีลธรรมใหแกเยาวชนญี่ปุน โดยใหความเคารพในวัฒนธรรมประเพณี
                มุงที่จะสอนศีลธรรมใหแกเยาวชนญี่ปุน เพื่อใหมีความระลึกถึงคุณภาพของการศึกษาและ
                เพิ่มพูนชีวิตครอบครัวของประชาชนทุกคน
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17