Page 16 - JRISS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 16

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018   11

                ดวยการเงินที่มั่นคง สถานะทางสังคมที่สูง จํานวนของผูที่อยากเปนครูจึงลนเกินจํานวน
                ตําแหนงที่รับได โดยมีผูสมัครหาถึงหกคนตอทุก ๆตําแหนง คณะกรรมการประจําจังหวัดเปน

                ผูเลือกผูสมัครที่มีคุณสมบัติดีที่สุดจากผูสมัครจํานวนมหาศาล (มนตรี แยมกสิกร, 2548)
                          สําหรับประเทศไทย อาจารยมหาวิทยาลัย มีคาตอบแทนเริ่มตนในระดับ
                มหาวิทยาลัยเอกชนไทยอยูที่ 3-4 หมื่นบาท ยิ่งกวานั้นอาจารยบางคนยังสามารถทํางาน part
                time ได หลายมหาวิทยาลัยในไทยมีระบบอาจารยที่ปรึกษาดานวิชาการตลอด 4 ป โดยเฉลี่ย
                พบกันเทอมละครั้ง และมีอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธตอนป 4 ที่จะเจอโดยเฉลี่ยสัปดาหละ

                ครั้งเทานั้น อีกทั้งโซนหองพักของอาจารยจะแยกจากนักศึกษาอยางชัดเจน จึงสงผลใหความ
                ใกลชิดของนักศึกษากับอาจารยที่ปรึกษาจึงนอยมาก
                        6) การสอบและการคัดเลือกเขามหาวิทยาลัย

                          ในประเทศญี่ปุน การศึกษานับวาเปนสิ่งสําคัญยิ่ง เด็กญี่ปุนทุกคนตองเขาเรียน
                ตั้งแตอายุ 6 ขวบ และถูกกําหนดใหตองผานการศึกษาภาคบังคับเปนเวลา 9 ป คือจบ
                มัธยมศึกษาตอนตน อยางไรก็ตาม เด็กญี่ปุนมากกวา 97% ศึกษาตอจนถึงระดับมัธยมศึกษา
                ตอนปลาย โดยที่สามในสี่เขาเรียนในโรงเรียนมัธยมปลายสายสามัญ ในขณะที่หนึ่งในสี่ที่เหลือ

                เขาเรียนในสายอาชีพ เชนวิทยาลัยเทคนิค และวิทยาลัยอาชีวศึกษา 25.3% ของผูเรียนจบชั้น
                มัธยมปลายจะไปศึกษาตอในวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย ในขณะที่อีกหลายคนเลือกที่จะไป
                ศึกษาในวิทยาลัยระดับอนุปริญญา วิทยาลัยเทคนิค หรือวิทยาลัยอาชีวศึกษา (หลักสูตร
                วิชาชีพชั้นสูง) การเขาศึกษาในระบบระดับอุดมศึกษาใชวิธีการเดียวกับระดับมัธยมศึกษาตอน

                ปลาย คือใชระบบการแบงเขตดวยวิธีการสุมเลือกดวยคอมพิวเตอร โดยตองสอบวัดคุณภาพ
                ของรัฐกอน โดยการศึกษาระดับอุดมศึกษา ไดแก มหาวิทยาลัย วิทยาลัยเทคนิค วิทยาลัย
                อาชีวศึกษา และวิทยาลัยครู (ปานเพชร ชินินทร และคณะ, 2552)
                          ในประเทศไทย การอุดมศึกษามีขอบขายที่แบงออกไดเปน 3 ระดับ คือ

                          ระดับที่ 1 เปนระดับที่ต่ํากวาปริญญาตรี ไดแก ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
                และอนุปริญญา ซึ่งใชเวลาประมาณ 2-3 ป หลังจากมัธยมศึกษาตอนปลาย
                          ระดับที่ 2 คือ ระดับปริญญาตรี ซึ่งใชเวลาศึกษาประมาณ 4-6 ป โดยปกติ

                หลักสูตรปริญญาตรีจะใชเวลาศึกษาประมาณ 4 ป แตมีบางสาขาวิชา ที่จัดหลักสูตรประมาณ
                5 ป เชน สถาปตยกรรมศาสตร และหลักสูตร 6 ป เชน แพทยศาสตร ผูสําเร็จการศึกษาระดับ
                ปริญญาตรีเรียกวา "บัณฑิต"
                          ระดับที่ 3 คือ ระดับที่สูงกวาปริญญาตรี ที่เรียกวา ระดับบัณฑิตศึกษา ผูที่จะ
                ศึกษาตอในระดับนี้ จะตองสําเร็จการศึกษาปริญญาตรี หรือเทียบเทามาแลว ระดับ

                บัณฑิตศึกษายังแบงออกเปน ปริญญามหาบัณฑิต หรือปริญญาโท และปริญญาดุษฎีบัณฑิต
                หรือปริญญาเอก
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21