Page 13 - JRISS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 13

8  Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018

                       2) กอตั้งสังคมที่มุงสูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยการสนับสนุนงานวิจัย
             วิทยาศาสตรเบื้องตนและขั้นสูง และการพัฒนาเทคโนโลยีที่กาวหนา มุงที่จะทาใหญี่ปุนเปน

             ผูนําดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีและศูนยขาวสารขอมูลทางวิทยาศาสตร ที่จะเปดกวาง
             สําหรับทุก ๆ ชาติระบบการบริหารการศึกษา
                       ในประเทศไทย นโยบายการพัฒนาการศึกษาของไทย เปนการนําเอาปรัชญาทาง
             การศึกษาจากตางประเทศมาใช โดยเฉพาะเรื่องการสอนโดยใหผูเรียนเปนศูนยกลางการ
             เรียนรู เรียนรูจากประสบการณที่ไดจากการปฏิบัติ ดวยบุคลากรที่มีคุณภาพและไดรับการ

             พัฒนาอยางตอเนื่อง รวมทั้งปรัชญาของการศึกษาตลอดชีวิต ในทุก ๆ ระดับ ทั้งทางดาน
             วิชาการและในสวนของวิชาชีพตาง ๆ (ไพฑูรย และคณะ, 2550) ซึ่งนโยบายและเปาหมายที่
             สําคัญของการศึกษาไทยนั้น คือ

                       1) ใหทุกคนเขาถึงการศึกษาที่มีคุณภาพอยางเทาเทียมกัน
                       2) สงเสริมใหครูใชศักยภาพในการสอนอยางเต็มที่
                       3) สงเสริมใหการเรียนเนนการทองจําใหนอยลง เนนฝกคิดวิเคราะห
                       4) การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนในชาติ รวมทั้งการวิจัยและพัฒนาเพื่อใหเกิด

             ความรูและนวัตกรรมใหมๆ
                     3) การสนับสนุนงบประมาณทางการศึกษาจากภาครัฐ
                       ประเทศญี่ปุน มีกระทรวงศึกษาธิการเปนกระทรวงเดียวที่รับผิดชอบเรื่องการจัด
             การศึกษาของชาติ รัฐบาลจึงไดจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาไปที่กระทรวงศึกษาฯ เพียง

             กระทรวงเดียว เพื่อใหกระทรวงฯจัดสรรงบประมาณใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นโดยตรง
             และงบประมาณเพื่อการศึกษาสวนใหญก็ใชไปเพื่อสนับสนุนการศึกษาภาคบังคับ ซึ่งเปน
             ภาระหนาที่ของรัฐที่ตองจัดการศึกษาฟรีใหเปนเวลาเกาป จนถึงชั้นมัธยมศึกษาตอนตน ซึ่ง
             งบประมาณเพื่อการศึกษาภาคบังคับเปนของสวนกลางกับทองถิ่นระดับองคการบริหารสวน

             จังหวัดในสัดสวนครึ่งตอครึ่ง และระดับมัธยมศึกษาเปนงบประมาณขององคการบริหารสวน
             จังหวัดทั้งหมด
                       เรืองศักดิ์ แกวธรรมชัย (2556) ไดกลาวถึงการสนับสนุนทางการเงินจากรัฐบาล

             ญี่ปุนจะใหงบประมาณทั้งมหาวิทยาลัยรัฐและเอกชน และภาคเอกชนจะสนับสนุนเงินวิจัย
             ใหกับมหาวิทยาลัย ทําใหมหาวิทยาลัยญี่ปุนสามารถพัฒนาการเรียนการสอนใหมีคุณภาพดีได
             งาย เพราะมีการเรียนรูจากโจทยจริงและหองปฏิบัติการจริง รวมถึงมีงบประมาณที่จะสามารถ
             ซื้ออุปกรณไดมากกวาสําหรับประเทศไทย การถายโอนภารกิจดานการศึกษาตาม
             พระราชบัญญัติกําหนดและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น ให

             รัฐจัดสรรงบประมาณใหกับทองถิ่นรอยละ 35 ของรายไดรัฐบาลทั้งหมด
                       ในประเทศไทย มหาวิทยาลัยแหงรัฐหลายแหง ออกจากระบบและมีระบบการ
             ดําเนินการบริหารจัดการภายในเอง โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยเอกชนของไทย ที่จะไมไดรับการ
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18