Page 9 - JRISS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 9

4  Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018

                     ระบบการศึกษาในประเทศไทย เริ่มตนจากการปฏิรูปการศึกษาของไทยในสมัย
             รัชกาลที่ 5 ซึ่งนับเปนรากฐานที่สําคัญของการศึกษาไทยจนทุกวันนี้ จากนั้นก็มีการปฏิรูป

             การศึกษามาหลายตอหลายครั้ง แตก็ยังคงมีปญหาอยู โดยเฉพาะปญหาดานคุณภาพ
             การศึกษา ที่เกี่ยวของกับผูเรียน ครู และบุคคลทางการศึกษา การบริหารจัดการศึกษา ดาน
             การเพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาที่จัดไดไมทั่วถึง ดานการผลิตและพัฒนากําลังคน
             เพื่อเพิ่มศักยภาพการแขงขันซึ่งยังไมสามารถสนองความตองการของประเทศได จาก
             การศึกษาเอกสาร ตํารา บทความทางวิชาการ งานวิจัยที่เกี่ยวของ และสภาพขอเท็จจริง

             เกี่ยวกับการ ศึกษาในอดีตถึงปจจุบัน พบวา ประเทสไทยยังมีปญหาการศึกษาหลายประการที่
             พบอยูในปจจุบัน (สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร สํานักวิชาการกลุมงานบริการ
             วิชาการ 3, 2557)

                     ระบบการศึกษาของประเทศญี่ปุน ถึงแมวาการศึกษาอยางเปนระบบของประเทศ
             ไทยเริ่มขึ้นพรอม ๆ กับประเทศญี่ปุนในรัชสมัยจักรพรรดิเมจิ หรือสมเด็จพระจักรพรรดิมุสึฮิ
             โตะ ซึ่งทรงขึ้นครองราชย ตั้งแต พ.ศ.2411 – 2455 วุฒิชัย มูลศิลป (2551) ไดวิเคราะหความ
             แตกตางโดยใหเหตุผลที่การศึกษาของประเทศญี่ปุนเจริญกาวหนาไดเร็วกวาประเทศไทย ซึ่ง

             สรุปไดวา ความสามารถในการรับการถายทอดความรูจากตางชาติของคนญี่ปุน โดยคนญี่ปุน
             พยายามเรียนรูความรู และเทคนิควิธีจากผูเชี่ยวชาญและครูอาจารยชาวตะวันตกที่ญี่ปุน
             วาจางเขามา จนสามารถดําเนินการไดดวยตนเองในเวลาไมนานนัก และตอมายังปรับปรุง
             ความรูและเทคนิควิธีเหลานั้นใหเปนแบบญี่ปุนเอง การยอมรับความคิดที่หลากหลายและ

             แตกตางเปนความแตกตางกันอีกประการหนึ่งระหวางไทยกับญี่ปุน ในขณะที่ไทยพยายามทํา
             ใหผูคนมีความคิดและปฏิบัติแบบเดียวกัน แตญี่ปุนยอมรับความคิดที่หลากหลาย เชน การ
             ยินยอมใหมีการตั้งมหาวิทยาลัยเอกชนที่มีปรัชญาในการเรียนการสอนแตกตางกัน ผลิตคนที่มี
             ความสามารถแตกตางกันแตยังมีลักษณะรวมกันทางจริยธรรมที่ถูกหลอหลอมมาตั้งแต

             การศึกษาภาคบังคับ นอกจากนี้ คาทสึ ยุกิฮาเซงาวะ (2547) ไดกลาวถึง ความแตกตางของ
             คนไทยกับคนญี่ปุน ดังนี้ 1) ชาวญี่ปุนมักจะปฏิบัติตัวตามกฎอยางเครงครัด 2) ชาวญี่ปุนมี
             จิตสํานึกในเรื่องระบบรุนพี่ – รุนนองอยางแรงกลา 3) ชาวญี่ปุนมักจะเรียกรองใหมีความ
             รับผิดชอบทางดานศีลธรรมและ  4) คนไทยใจเย็น คนญี่ปุนใจรอน

                     นอกจากนี้ประเทศญี่ปุนในปจจุบัน ยังเปนประเทศที่มีมาตรฐานทางดานการศึกษาใน
             ระดับสูง โดยระบบการศึกษาของประเทศไดรับตนแบบมาจากระบบการศึกษาของหลาย ๆ
             ประเทศ อาทิเชน ประเทศอังกฤษ, ฝรั่งเศส และอเมริกา ดังจะเห็นไดจากการรายงานผลการ
             จัดระดับการศึกษาของโลก (The world Top 20 Education Poll 2015) ความสําเร็จทาง

             การศึกษาของญี่ปุนอยูในระดับสูงเมื่อเทียบกับมาตรฐานสากล ในการสอบวัดความรูดาน
             คณิตศาสตรนานาชาติ เด็กญี่ปุนถูกจัดใหอยูในอันดับตนๆ มาโดยตลอด ระบบนี้เปนผลมาจาก
             การสมัครเขาเรียนสูง ตลอดจนอัตราการรับระบบการสอบเขา (การสอบเอนทรานซ)
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14