Page 8 - JRISS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 8

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018   3

                Thailand  and  Japan  lacked appropriate  research assessments.  Including
                dissemination of research results and research that cannot do as much as they

                should. 5) Performance  of university  lecturers: in Japan, the remuneration  of
                professors in the university is higher than in Thailand. And Japan has an advisor
                system that encourages and be closer with students. 6) University Admissions exam:
                both Thailand and Japan have different entrance examination systems. Students
                can choose to study in a college or university. 7) Teaching the third language in

                university: both Thailand and Japan have similar language barriers. For 3 language
                                                                                   rd
                teaching in university, Japan will focus on students that can communicate and
                understand both language and culture of their country. In Thailand, many courses

                are focusing  on grammatical.  Finally, the approach  of application  Japanese
                education system to the Thai education system is development of education at all
                the times and focusing on practical teaching. All students learn for practical more
                than memorization. At any rate we should consider the difference area too.

                Keywords: Comparative Education, Higher Education System, Thai Education
                system, Japanese Education system

                บทนํา

                        คําวา "การศึกษา" พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ใหความหมายวา "การเลา
                เรียน การฝกอบรม" เปนคําที่ใชในความหมายตรงกับคําในภาษาอังกฤษวา "Education" ซึ่ง
                Good (1973) ไดใหความหมายไวในพจนานุกรมศัพทการศึกษา ไววาการศึกษา หมายถึง
                กระบวนการเรียนรู เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม โดยการถายทอดความรู การ

                ฝก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสรางสรรคจรรโลง ความกาวหนาทางวิชาการ
                การสรางองคความรูอันเกิดจากการจัดสภาพแวดลอม การศึกษาเปนกุญแจสําคัญในการ
                พัฒนาประเทศและผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพออกมาสูสังคม ดังนั้นการศึกษาจึงมีความสําคัญ

                ตอมนุษยอยางมาก ในทุกประเทศจึงใหความสําคัญกับการศึกษาเปนอันดับตนๆ เพราะ
                การศึกษามีสวนสําคัญในการขับเคลื่อนและกอใหเกิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและ
                สังคม การพัฒนาความรูในตัวมนุษย ความรูทางเทคโนโลยี และความรูในวิทยาการตาง ๆ
                เปนปจจัยชี้นําในการเพิ่มขีดความสามารถของการแขงขันแตละประเทศที่จะกาวสูสังคม
                ฐานความรู ดังนั้นการศึกษาจึงเปนรากฐานในการแกไขปญหา สรางสรรคความกาวหนา และ

                พัฒนาประเทศในดานตาง ๆ การที่ประเทศจะเจริญกาวหนาไดจําเปนตองมีทรัพยากรบุคคลที่
                มีความรู ความคิด และทักษะทางดานฝมือจํานวนมาก (ปานเพชร ชินินทร และคณะ, 2552)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13