Page 34 - JRISS-vol.2-no2
P. 34

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.2 April-June 2018   29

                รวมสนับสนุนการปรับปรุงสภาพแวดลอมใหสอดคลองและเหมาะสมตอการเรียนการสอน มี
                กระบวนการในการบริหารสถานศึกษาโดยยึดหลักการมีสวนรวม มีการประชุม ปรึกษาหารือ

                และตัดสินใจรวมกันเสมอ และสถานศึกษามีการนํามติความคิดเห็นและขอเสนอแนะของ
                คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานไปปฏิบัติอยางจริงจัง จึงเปนแรงจูงใจที่สําคัญที่ทําให
                คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชนและผูมีสวนเกี่ยวของใหความรวมมือเพื่อพัฒนาสถานศึกษา
                นั่นเอง  ซึ่งสอดคลองกับเสาวนิตย ชัยมุสิก (2544 : 25 - 26)  ไดกลาววา ภายใตการบริหาร
                โดยใชโรงเรียนเปนฐาน โรงเรียนยังจะตองเปนหนวยงานหลักในการตัดสินใจในเรื่อง

                งบประมาณ หลักสูตร และบุคลากร โดยการมีสวนรวมในรูปคณะกรรมการ ซึ่งประกอบดวย
                กลุมคน 4 ประเภท ไดแก ผูปกครอง ครู ชุมชน ผูบริหารโรงเรียนดังนั้นการบริหารโดยใช
                โรงเรียนเปนฐานจึงมีรูปแบบที่แตกตางกันในมิติตางๆ คือ การบริหารที่มีผูบริหารเปนผูชี้นํา

                เปนรูปแบบที่มีการปรึกษาหารือกับบุคลากรในสถานศึกษา ผูปกครอง ชุมชน นักเรียน แตการ
                ตัดสินใจเปนอํานาจชี้ขาดของผูบริหารแตผูเดียว การบริหารในรูปแบบคณะกรรมการ เปน
                รูปแบบที่มีตัวแทนครูเปนคณะกรรมการในสัดสวนที่มากกวากลุมอื่น ใหมีสวนรวมและมี
                อํานาจในการตัดสินใจในดานงบประมาณบุคลากรและหลักสูตรการบริหาร รูปแบบนี้มีความ

                เชื่อวา ครูเปนผูใกลชิดกับนักเรียนมากกวาผูอื่นยอมรูปญหาตางๆ ไดดีกวา  การบริหารโดย
                คณะผูปกครองและครู เปนรูปแบบที่ใชเพื่อลดบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา เปน
                การบริหารสถานศึกษาในกํากับของรัฐเปนรูปแบบของการตัดสินใจจากความคิดพื้นฐานของ
                ความตองการเขามามีสวนรวมรับผิดชอบในการดําเนินงานของโรงเรียนใหเกิดผลดีกับบุตร

                หลานของตน และการบริหารโดยคณะกรรมการในพื้นที่สถานศึกษา เปนรูปแบบที่มอบ
                อํานาจการตัดสินใจอยางมีขอบขายจํากัดใหกับคณะกรรมการในพื้นที่สถานศึกษา ในเรื่องการ
                จัดสรรงบประมาณที่ไดรับจากเขตพื้นที่ใหแกสถานศึกษา การจัดการศึกษา  ซึ่งคลายกับ
                ปญญา  แกวกียูร (2545 : 5)  ไดใหหลักการสําคัญในการบริหารจัดการศึกษาที่โรงเรียนใช

                เปนฐานวาหลักการมีสวนรวม ผูที่มีสวนเกี่ยวของทุกฝายไดมีสวนรวม และใหความรวมมือใน
                การบริหารตัดสินใจ และการจัดการศึกษาทําใหเกิดความตระหนักและความรูสึกเปนเจาของ
                และมีผูสอบถามเพียงสวนนอยที่ตอบวาสถานศึกษาขาดการศึกษาวิเคราะหขอมูลที่เกี่ยวของ
                กับสภาพ ปญหา และความตองการเพื่อกําหนดยุทธศาสตรในการพัฒนาการจัดการศึกษาของ

                สถานศึกษา และผูเรียนมีสวนรวมการแสดงความคิดเห็นในการบริหารสถานศึกษา
                        1.3 ดานการบริหารตนเอง จากการศึกษาพบวาอยูในระดับมากทั้งนี้อาจเกิดจาก
                สถานศึกษามีการแตงตั้งคณะกรรมการที่มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับหลักการบริหารโดยใช
                โรงเรียนเปนฐาน สถานศึกษา และไดรวมกันประชุม กําหนดวิสัยทัศน  หลักสูตรสถานศึกษา

                และดําเนินงานตามนโยบายแผนงานโครงการที่กําหนด ใชทรัพยากรที่มีอยูอยางประหยัดและ
                คุมคาเพื่อพัฒนาสภาพแวดลอมใหสอดคลองและเหมาะสมตอการจัดการเรียนการสอน
                เนื่องจากมีการระดมทุนและทรัพยากรทางการศึกษาจากชุมชนเพื่อพัฒนาสถานศึกษาของตน
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39