Page 31 - JRISS-vol.2-no2
P. 31

26  Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences :  Vol.2 No.2 April-June 2018

                     2.2 ดานการมีสวนรวม โดยภาพรวมอยูในระดับมาก โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ
             คณะกรรมการสถานศึกษามีสวนรวมกําหนดแนวทางวิธีการตรวจสอบภายใน ติดตามและ

             ประเมินผลการใชงบประมาณของสถานศึกษา รองลงมาคือ คณะกรรมการสถานศึกษามีสวน
             รวมสนับสนุนการปรับปรุงสภาพแวดลอมใหสอดคลองและเหมาะสมตอการเรียนการสอน ขอ
             ที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุด คณะกรรมการสถานศึกษามีสวนรวมในการวางแผนอัตรากําลังของ
             สถานศึกษาใหสอดคลองกับความตองการ
                     2.3 ดานการบริหารตนเองโดยภาพรวมอยูในระดับมาก โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ

             สถานศึกษาใชทรัพยากรที่มีอยูอยางประหยัดและคุมคา รองลงมาคือ สถานศึกษามีการระดม
             ทุน และทรัพยากรทางการศึกษาจากชุมชน เพื่อพัฒนาสถานศึกษาของตนไดอยางอิสระ ขอที่
             มีคาเฉลี่ยต่ําสุดคือสถานศึกษามีวิธีการที่หลากหลายและนํานวัตกรรมมาใชในการบริหาร

             สถานศึกษา
                     2.4 ดานการตรวจสอบการถวงดุลโดยภาพรวมอยูในระดับมาก โดยขอที่มีคาเฉลี่ย
             สูงสุด คือ สถานศึกษามีระบบเบิกจายและการใชงบประมาณอยางเปนระบบ รองลงมา คือ
             การบริหารงานของสถานศึกษาเปนไปดวยความโปรงใสสามารถตรวจสอบไดตลอดเวลา ขอ

             เฉลี่ยต่ําสุด คือสถานศึกษาเปดโอกาสใหชุมชนมีสวนรวมในการกํากับติดตามการปฏิบัติงาน
             ตามแผนของโรงเรียน
                     โดยสรุปในภาพรวมสภาพการบริหารสถานศึกษาโดยใชโรงเรียนเปนฐานของ
             สถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 5

             โดยใชหลักการ 4 ดาน  พบวา มีสภาพการดําเนินการอยูในระดับมาก ซึ่งดานการตรวจสอบ
             การถวงดุลมีคาเฉลี่ยมากที่สุด  รองลงมาคือดานการกระจายอํานาจ สวนดานการบริหาร
             ตนเอง มีคาเฉลี่ยเทากับดานการบริหารแบบมีสวนรวม
                     3.  ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นตอสภาพการบริหารสถานศึกษาโดยใชโรงเรียน

             เปนฐานของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
             อุบลราชธานี เขต 5 ทั้งจําแนกโดยตําแหนง และขนาดของสถานศึกษา พบวาไมแตกตางกัน
                     4. ปญหาและขอเสนอแนะในการบริหารสถานศึกษาโดยใชโรงเรียนเปนฐานของ
             สถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 5 มี

             โดยภาพรวม เมื่อพิจารณาเปนรายดานสรุปไดดังนี้
                     4.1 ดานการกระจายอํานาจ พบวามีปญหาในเรื่องอํานาจในการตัดสินใจในการ
             บริหารสถานศึกษาแมจะมีการจัดโครงสรางการบริหารในรูปแบบของคณะกรรมการ
             สถานศึกษาและการตัดสินใจในรูปแบบคณะกรรมการ แตในทางปฏิบัติโดยสวนใหญมักขึ้นอยู

             ที่ผูบริหารสถานศึกษา อีกทั้งผูบริหารไมใหความสําคัญในการจัดประชุมวางแผนงาน โครงการ
             สถานศึกษาขาดการศึกษาวิเคราะหขอมูลที่เกี่ยวของกับสภาพ ปญหา และความตองการเพื่อ
             กําหนดยุทธศาสตรในการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ขอเสนอแนะ ควรจัดอบรม
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36