Page 27 - JRISS-vol.2-no2
P. 27

22  Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences :  Vol.2 No.2 April-June 2018

             รูปของคณะกรรมการสถานศึกษา แตในบทบาทที่เปนจริงสวนใหญมีบทบาทแบบเปนคณะที่
             ปรึกษามากกวากรรมการบริหาร เมื่อพิจารณาโดยทัศนะเชิงการบริหาร คณะกรรมการมีสวน

             รวมในการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนนอยมาก ทั้งในการดําเนินการใหสถานศึกษามี
             บทบาทตอบสนองตอความตองการของผูเรียนตอชุมชนที่ตั้งของโรงเรียนหรือสถานศึกษานั้น
             และตอการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดลอมจะมีคอนขางจํากัด (อุทัย บุญประเสริฐ, 2542)
                     พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.
             2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 (พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ, 2553) ไดกําหนดใหมี

             การกระจายอํานาจไปสูสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาและองคการปกครองสวน
             ทองถิ่น ใหกระทรวงกระจายอํานาจการบริหารและการจัดการศึกษา ทั้งดานวิชาการ
             งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารงานทั่วไป ใหคณะกรรมการสํานักงานเขต

             พื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาโดยตรง
                     การบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน มีเปาหมายทางการศึกษาที่ตั้งสมมติฐานอยูบน
             ความหลากหลายตามสภาพของสถานศึกษาที่มีความซับซอนและมีการเปลี่ยนแปลง
             ตลอดเวลา ดังนั้นการปฏิรูปการศึกษาหรือการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา จึงเปนสิ่งจําเปนที่

             หลีกเลี่ยงไมได มีการปรับสภาพแวดลอมและเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงานใหบรรลุ
             เปาหมายที่ตั้งไว โดยแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงคตอครูผูสอนและผูมีสวนรวมของโรงเรียน
             บนพื้นฐานของการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโดยใชโรงเรียนเปนฐาน เพื่อที่จะสงผลตอ
             คุณภาพของสถานศึกษา และการผลิตนักเรียนใหเปนผูมีคุณภาพเพื่อตอบสนองตอการปฏิรูป

             การศึกษา ซึ่งการบริหารการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยใชโรงเรียนเปนฐาน จะเปนการบริหาร
             รูปแบบใหม (อุทัย บุญประเสริฐ, 2545: 189-191, อางถึงใน พิมพรักข สามคุมพิมพ, 2556:
             12) ไดใหหลักการการบริหารแบบ School–Based Management: SBM โดยสรุปไดดังนี้
             คือ ใชหลักการกระจายอํานาจ การมีสวนรวม การคืนอํานาจ การจัดการดานการศึกษาใหแก

             ประชาชน และการบริหารตนเอง เปนหลักในการบริหารและการจัดการศึกษา ซึ่งเปนรูปแบบ
             หนึ่งที่จะชวยในการประกันคุณภาพการศึกษา โดยการกระจายอํานาจ หรือการโอนอํานาจ
             จากหนวยงานของรัฐและทองถิ่นไปยังสถานศึกษา ซึ่งจะเปนหนวยงานที่อยูใกลชิดกับนักเรียน
             มากที่สุด ใหผูบริหาร ครู นักเรียน ผูปกครอง และชุมชนมีสวนรวมในการควบคุมการจัด

             การศึกษา การตัดสินใจเกี่ยวกับงบประมาณ บุคลากรและหลักสูตร ดวยตนเอง เพื่อนําไปสู
             การเรียนรูที่มีคุณภาพ ซึ่งสอดคลองกับหลักการและแนวคิดการบริหารงานโดยใชโรงเรียนเปน
             ฐาน
                     จากสภาพดังกลาว การบริหารและการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในรูปแบบการ

             บริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน เปนแนวทางหนึ่งที่จะปฏิรูประบบการศึกษาใหดีขึ้น ผูบริหาร
             สถานศึกษาตองเปนผูมีความสามารถในการเปนผูนํา สนับสนุนใหบุคลากรในสถานศึกษามี
             ความรูและทักษะเพิ่มขึ้น ผูบริหารสถานศึกษาในฐานะเปนผูบังคับบัญชาขาราชการครูใน
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32