Page 25 - JRISS-vol.2-no1
P. 25

20  Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018

             จากนั้นกําหนดวัตถุประสงคใหสอดคลองกับหัวเรื่อง กําหนดกิจกรรมการเรียนใหสอดคลอง
             กับวัตถุประสงค กําหนดรูปแบบการประเมินผล เลือกและผลิตสื่อการสอน วัสดุอุปกรณและ

             วิธีการใช สุดทายนําชุดการสอนไปหาประสิทธิภาพ เพื่อเปนการรับประกันวาชุดการสอนที่
             สรางขึ้นมีประสิทธิภาพในการสอน ผูสอนจะตองกําหนดเกณฑลวงหนา โดยคํานึงถึงหลักการ
             ที่วา การเรียนรูเปนกระบวนการเพื่อชวยใหการเปลี่ยนพฤติกรรมของผูเรียนบรรลุผล ซึ่ง
             สอดคลองกับการวิจัยของ สุดถนอม ธีระคุณ (2555: 91) ไดทําการศึกษาวิจัย เรื่อง การ
             พัฒนาชุดการสอน ดวยเทคนิคจัดการความรู หนวยการเรียนรูพลังงานไฟฟา ผลการวิจัย

             พบวา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่เรียนดวยชุดการสอนดวยเทคนิคจัดการความรู มี
             ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงขึ้น
                     2. การอภิปรายผล ผลการเปรียบเทียบผลการเรียนรูดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

             กอนสอนและหลังสอนโดยวิธีใชชุดการสอนและการสอนโดยวิธีสอนปกติ
                     ผลการวิจัยพบวาการสอนทั้งสองวิธี นักเรียนมีผลการเรียนรูดานผลสัมฤทธิ์ทางการ
             เรียนหลังเรียน สูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้งนี้เปนเพราะวากอน
             เรียนนักเรียนยังไมมีความรู แตเมื่อเรียนแลวนักเรียนยอมมีความรูเพิ่มขึ้น จึงทําใหผลการ

             เรียนรูดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนจากการสอนทั้งสองวิธีหลังเรียน สูงกวากอน
             เรียนเปนไปตามหลักการเรียนรู สอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว และสอดคลองกับงานวิจัยของ
             ปญญา รุงเรือง (2551: 102-104) ที่ไดทําการวิจัยเรื่องผลการจัดการเรียนการสอน โดยใชชุด
             การสอนเรื่องภูมิศาสตรประเทศไทยกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 พบวา ผลการเรียนรูของ

             นักเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และสอดคลองกับ
             งานวิจัยของ ภาคภูมิ สิทธิผล (2556: บทคัดยอ) ที่ไดทําการวิจัยการพัฒนาชุดการสอน
             ประกอบการเรียนวิชาคอมพิวเตอรโปรแกรม PhotoScape ผลการวิจัยพบวา ผลการเรียนรู
             ของนักเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

                     3. การอภิปรายผลการเปรียบเทียบผลการเรียนรูระหวางนักเรียนที่ไดรับการสอนโดย
             วิธีใชชุดการสอนและการสอนโดยวิธีสอนปกติ
                     ผลการเปรียบเทียบผลการเรียนรูระหวางนักเรียนที่ไดรับการสอนโดยวิธีใชชุดการ
             สอนและนักเรียนที่ไดรับการสอนโดยวิธีสอนปกติ พบวา นักเรียนที่ไดรับการสอนโดยวิธีใชชุด

             การสอน มีผลการเรียนรูดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะกระบวนการกลุม ทักษะการทํา
             เว็บเพจและคุณลักษณะอันพึงประสงค สูงกวานักเรียนที่ไดรับการสอนโดยวิธีสอนปกติอยางมี
             นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้งนี้เปนเพราะวาการสอนโดยใชชุดการสอน ผูวิจัยได
             ออกแบบใหนักเรียนไดเรียนรูจากการปฏิบัติจริง ทั้งเปนกลุมและรายบุคคล ทําใหนักเรียนได

             เรียนรูจากหลายทาง จึงทําใหผลการเรียนรูทั้ง 4 ดานสูงกวาวิธีสอนแบบปกติ สอดคลองกับ
             สมมติฐานที่ตั้งไว สอดคลองกับผลการวิจัยของ บรรณรักษ แพงถิ่น (2542: บทคัดยอ) ที่ไดทํา
             การวิจัยเรื่องการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30