Page 22 - JRISS-vol.2-no1
P. 22
Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018 17
3.3.2 แบบประเมินทักษะกระบวนการกลุม ประเมินคุณภาพโดยผูเชี่ยวชาญ
3 ทาน มีคาดัชนีความสอดคลอง เทากับ 1.00 ทุกรายการ คาอํานาจจําแนกรายขอ มีคา
ระหวาง 0.56-0.80 และ คาความเชื่อมั่นทั้งฉบับโดยใชวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟา เทากับ0.87
3.3.3 แบบประเมินทักษะการทําเว็บเพจ ประเมินคุณภาพโดยผูเชี่ยวชาญ 3
ทาน มีคาดัชนีความสอดคลอง เทากับ 1.00 ทุกรายการ คาอํานาจจําแนกรายขอมีคาระหวาง
0.57-0.80 และมีคาความเชื่อมั่นทั้งฉบับโดยใชวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟา เทากับ 0.87
3.3.4 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค ประเมินคุณภาพโดย
ผูเชี่ยวชาญ 3 ทาน มีคาดัชนีความสอดคลอง เทากับ 1.00 ทุกรายการ คาอํานาจจําแนกราย
ขอมีคาระหวาง 0.51-0.75 และมีคาความเชื่อมั่นทั้งฉบับโดยใชวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟา เทากับ
0.86
4. การเก็บรวบรวมขอมูล
การดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยไดทําการเก็บขอมูลของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2560 โรงเรียนนาทมวิทยา อําเภอนาทม จังหวัด
นครพนม มีวิธีดําเนินการดังนี้
4.1 ทําหนังสือขออนุญาตผูบริหารสถานศึกษา
4.2 ทําการทดสอบและประเมินผลกอนเรียนโดยใชเวลา 2 ชั่วโมง ทั้งกลุมทดลอง
และกลุมควบคุมคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2560
4.3 ดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรูที่ผูวิจัย
สรางขึ้น โดยใชระยะเวลาในการทดลอง เปนเวลา 6 สัปดาห สัปดาหละ 2 ชั่วโมง ทั้งกลุม
ทดลองและ กลุมควบคุมจํานวนกลุมละ 12 ชั่วโมง ระหวางวันที่ 17 พฤษภาคม 2560 – 24
มิถุนายน 2560 รวมทั้งเก็บรวบขอมูลเกี่ยวกับ ทักษะการทํางานกลุม ทักษะการทําเว็บเพจ
และคุณลักษณะอันพึงประสงค ระหวางจัดการเรียนรูทั้งสองแบบควบคูไปดวย
4.4. ทําการทดสอบและประเมินผลหลังเรียน โดยใชแบบทดสอบฉบับเดียวกันกับ
แบบทดสอบกอนเรียน โดยใชเวลา 2 ชั่วโมง
5.การวิเคราะหขอมูล
ผูวิจัยดําเนินการวิเคราะหขอมูลดังตอไปนี้
5.1 หาคาสถิติพื้นฐาน ไดแก รอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
5.2 เปรียบเทียบผลการเรียนรู ดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะการทํางาน
กลุม ทักษะการทําเว็บเพจ และคุณลักษณะอันพึงประสงค กับเกณฑที่กําหนดไว คือรอยละ
60 ของคะแนนเต็มจากการสอนทั้งสองแบบ โดยใชสถิติ t-test กรณีกลุมตัวอยางเดียว (One
Sample t-test)