Page 18 - JRISS-vol.2-no1
P. 18

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018   13

                คอมพิวเตอรเพื่อการศึกษาจึงเปนเรื่องที่ครูตองใหความสําคัญ และเปนอีกเปาหมายหนึ่งใน
                การเติมเต็มศักยภาพการเรียนรูและพัฒนาตนเองของผูเรียน (ไชยยศ เรืองสุวรรณ, 2545: 6)

                การนําคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีใหมๆ ที่ทันสมัยมาใชในการถายทอดความรูจากผูสอนไปสู
                ผูเรียน เปนการสนับสนุนการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพและเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
                ไดดี (สุรศักดิ์ ปาเฮ, 2545: 28) ปจจุบันประเทศไทยไดมุงเนนที่จะสรางรูปแบบการเรียนการ
                สอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ เพื่อเปนทางเลือกใหมในการศึกษาคนควาที่ยั่งยืนและตลอดชีวิต
                (จารุวัส หนูทอง, 2555: 1) ดังจะเห็นไดจากแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติ 2560 - 2574 ซึ่ง

                เปนแผนยุทธศาสตรระยะยาวสําหรับหนวยงานที่เกี่ยวของกับการศึกษาของประเทศ ได
                นําไปใชเปนกรอบและแนวทางการพัฒนาการศึกษาและเรียนรูสําหรับพลเมืองทุกชวงวัยตั้งแต
                แรกเกิดจนตลอดชีวิต โดยจุดมุงหมายที่สําคัญของแผนคือ ใหความสําคัญกับการสรางระบบ

                การศึกษาที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ เพื่อเปนกลไกหลักของการพัฒนาศักยภาพและขีด
                ความสามารถของมนุษย และรองรับการศึกษา การเรียนรู และความทาทายที่เปนพลวัตของ
                โลกศตวรรษที่ 21 (สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, มปป.)
                        จากผลการเรียนรูรายวิชาคอมพิวเตอร ดังกรณีของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่

                4 โรงเรียนนาทมวิทยา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22 พบวา ในป
                การศึกษา 2557 นักเรียนมีคะแนนประเมินผลการเรียนรู รอยละ 56.63 ปการศึกษา 2558
                นักเรียนมีคะแนนประเมินผลการเรียนรู รอยละ 58.76 ปการศึกษา 2559 นักเรียนมีคะแนน
                ประเมินผลการเรียนรู รอยละ 52.53  (นาทมวิทยา, 2559) ซึ่งจากคะแนนที่นักเรียนทําไดทั้ง

                สามปการศึกษา เปนคะแนนที่ต่ํากวาเกณฑที่ครูผูสอนและสถานศึกษากําหนด คือรอยละ 60
                ของคะแนนเต็ม จึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองไดรับการพัฒนาอยางเรงดวนใหมีประสิทธิภาพ
                อยางตอเนื่องและยั่งยืน ผูวิจัยซึ่งเปนครูผูสอนวิชาคอมพิวเตอรพบวา ปญหาที่สําคัญในการจัด
                กิจกรรมการเรียนการสอนคือ เนื้อหาที่ผูเรียนจะตองเรียนรูใหเขาใจนั้นประกอบดวยเนื้อหา

                มากมาย ทําใหนักเรียนเขาใจยาก ซึ่งเกิดจากตัวผูเรียนที่มีพื้นฐานความรูที่แตกตางกัน เรียน
                ไปแลวลืม สื่อประกอบการเรียนการสอนที่มีนอย ไมเพียงพอตอการนําเสนอเนื้อหาตาง ๆ ครู
                ตองสอนโดยวิธีการบรรยาย ทําใหผูเรียนเกิดความเบื่อหนายและขาดทักษะกระบวนการใน
                เรื่องความรูและทักษะการปฏิบัติที่จะนําความรูที่ไดไปใชในชีวิตประจําวัน

                        จากสภาพปญหาดังกลาว ครูจึงควรนํานวัตกรรมมาใชในกิจกรรมการเรียนการสอน
                ใหมีประสิทธิภาพ ผูวิจัยพิจารณาถึงนวัตกรรมที่เปนสื่อการสอน พบวา ชุดการสอนมีจุดเดน
                คือ เปนสื่อการสอนที่จัดทําขึ้นเพื่อใชในการจัดการเรียนการสอนสําหรับผูเรียนที่มีความความ
                แตกตางระหวางบุคคล โดยจัดใหผูเรียนมีอิสระในการเรียนรูตามความสามารถและอัตราการ

                เรียนรูของแตละคน ผูเรียนไดประกอบกิจกรรมดวยตนเอง และมีผลยอนกลับทันทีวาตอบถูก
                หรือตอบผิด มีการเสริมแรงทําใหผูเรียนเกิดความภาคภูมิใจและตองการที่จะเรียนตอไป ได
                เรียนรูทีละนอยๆ ตามลําดับขั้น ตามความสามารถและความสนใจของแตละคน ทําใหผูเรียน
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23