Page 14 - JRISS-vol.1-no.3
P. 14

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017   9

                คุณภาพการศึกษาภายนอก รอบ 3 โดยเฉพาะ ตัวบ่งชี้การประเมิน 12 ตัวบ่งชี้ ด้านผู้เรียน 5
                ตัวบ่งชี้ ด้านการดําเนินงานของครู 1 ตัวบ่งชี้ และที่เหลืออีก 6 ตัวบ่งชี้เป็นการประเมิน
                คุณภาพในการบริหารสถานศึกษา ส่วนการเตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณภาพ

                การศึกษาภายนอก รอบ 3 นั้น สถานศึกษาแต่งตั้งหัวหน้าคณะทํางานเป็นรายตัวบ่งชี้ และมี
                คณะทํางานเพื่อวิเคราะห์ กําหนดกรอบ และเก็บข้อมูลเพื่อประกอบการรายงานแต่ละ
                มาตรฐานและตัวบ่งชี้ครบทุกมาตรฐาน
                       2. ผลการศึกษาความเข้าใจของนักศึกษาเกี่ยวกับการประเมินคุณภาพการศึกษา

                ภายนอกรอบ 3 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่านักศึกษาร้อยละ 80 ประเมินตนเองว่า
                เข้าใจเนื้อหาทุกเรื่อง ตามเกณฑ์ คือ สเกล 8 จาก 10 แต่เรื่องที่นักศึกษาไม่ค่อยเข้าใจ คือ
                การเตรียมการเพื่อรับการประเมินคุณภาพสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน การประเมินตามตัวบ่งชี้ที่ 5

                การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
                       3. ผลการศึกษาความพึงพอใจต่อประสบการณ์และการเรียนรู้เกี่ยวกับการประเมิน
                คุณภาพการศึกษาภายนอก รอบ 3 พบว่า นักศึกษาทุกคนมีความพึงพอใจต่อประสบการณ์
                และการเรียนรู้เกี่ยวกับการประเมินคุณภาพภายนอก รอบ 3 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตาม
                เกณฑ์ที่กําหนดไว้ คือ มีความพึงพอใจระดับมาก

                คําสําคัญ : การประเมินภายนอก, ประสบการณ์ตรง,  สร้างเสริม

                Abstract

                        This classroom research aimed to summarize experiences and concepts
                on External Quality Assessment Round 3, 2) to evaluate students’understanding,
                and 3) to study students’satisfaction to direct experiences on learning activities.
                The study was carried out in 3 steps as follows: (1) Providing students with basic

                understanding on External Quality Assessment Round 3; ( 2)   Providing
                students’opportunities of field experiences; and (3) Exchanging field experiences
                and evaluating the results. Target groups of study included 56 subjects, which
                were 43 students of Faculty of Education, Ubon Ratchathani Rajabhat University,

                and 13 informants from the school  used as a case study.  The data were
                analyzed by means of frequency, percentage, and content analysis.
                        The findings were as follows:
                        1. From exchanging field learning it revealed that students gained more

                experiences and the concept of external evaluation of education round 3
                consisted of 12 indicators, 5 indicators for students’quality evaluation, one for
                teachers’quality evaluation, the rest of 6 indicators were for administration
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19