Page 12 - JRISS-vol.1-no.3
P. 12

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017   7

                และเป็นประโยชน์ต่อบุคคล ขณะเดียวกันคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบุคคลและของสังคม
                ต้องยึดโยงและผนวกรวมความเป็นสังคมให้ได้ โดยใช้ความรู้และทักษะที่เรียนรู้ในการ
                ประกอบอาชีพ ดํารงชีวิต และการอยู่ร่วมกันในฐานะที่ทุกคนคือส่วนหนึ่งของสังคม และ

                สังคมก็เป็นอยู่เพื่อการอยู่ร่วมกันของสมาชิกของสังคมทุกคน

                บทสรุปและความเห็นท้ายเรื่อง
                        การเรียนรู้และการศึกษาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์มาหลาย

                ศตวรรษ มีพัฒนาการทั้งนิยามและแนวคิดทั้งสองเรื่องมาหลายตระกูลความคิด ดังจะเห็นได้
                จากความแตกต่างในนิยามและแนวคิด แต่นั่นยังไม่ใช่จุดเริ่มต้นของปัญหาคุณภาพการศึกษา
                ที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ปัญหาอยู่ที่ความซับซ้อนและความรวดเร็วของการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่

                เกิดขึ้นจนการปรับตัวด้านการศึกษาและการเรียนรู้ไม่ทันกับการเปลี่ยนแปลงและปัญหาที่โลก
                กําลังเผชิญอยู่ ดังนั้นผู้เขียนจึงเสนอให้มีการทบทวนนิยามการศึกษาและการเรียนรู้กันใหม่
                พร้อมเสนอนิยามตามความเห็นของตนดังกล่าวมาแล้วข้างต้น โดยชี้ให้เห็นว่า การเรียนรู้กับ
                การศึกษาแม้จะเกี่ยวข้องกัน แต่ไม่ใช่สิ่งเดียวกัน การศึกษาเป็นกระบวนการเพื่ออํานวยความ
                สะดวกในการเรียนรู้ของบุคคล และการเรียนรู้เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในตัวผู้เรียน ที่

                ต้องเรียนรู้ด้วยตนเองโดยมีกระบวนการทางการศึกษาเป็นตัวช่วยนั่นเอง

                บรรณานุกรม

                ราชกิจจานุเบกษา. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. ราชกิจจา
                       นุเบกษา เล่ม 116 ตอนที่ 74 ก. (19 สิงหาคม 2542).
                Carlson, R.V. RefCarter, C, Bishop, J and Lyman, K. (2002). Keys to Effective
                       Learning. Upper Saddle River, New Jersey: Prentice Hall.

                Glover, D and Law, S. (2002). Improving Learning: Professional Practice in
                       Secondary Schools. Buckingham: Open University Press.
                Hilgard, E.R. and Bower, G.H. (1975). Theories of Learning. Englewood Cliffs, New
                       Jersey: Prentice-Hall.

                Lunenburg, F.C. and Ornstein, A.C. (1991). Educational Administration: Concept
                       and Practice. Belmont, California: Wadsworth Publishing Company.
                Ornstein, A.C., Levine, D.U., Gutek G.L.and Vocke, D.E. (2011). Foundation of
                       Education. Australia: Wadsworth.

                                                                                       th
                Schunk, D.H. (2008). Learning Theories: An Educational Perspective. (5 ed.).
                       Upper Saddle River, New Jersey: Pearson Merrill Practice Hall.
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17