Page 28 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 28

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.-3 July-September 2018   23

                        สวนที่ 2 แบบสอบถามพฤติกรรมจริยธรรมการสอนของอาจารยพยาบาล โดยใช
                แบบสอบถามที่ผูวิจัยสรางขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรม แบงจริยธรรมการสอนของอาจารย

                เปน 6 ดาน มีขอคําถามทั้งหมด 28 ขอ ไดแก 1) ดานการทําประโยชน จํานวน 7 ขอ 2) ดาน
                การไมกระทําอันตราย จํานวน 4 ขอ 3) ดานการเคารพเอกสิทธิ์ จํานวน 5 ขอ 4) ดานความ
                ยุติธรรม จํานวน 4 ขอ 5) ดานความซื่อสัตย จํานวน 4 ขอ และ 6) ดานการบอกความจริง
                จํานวน 4 ขอ ลักษณะของคําตอบเปนมาตราสวนประมาณคา (Likert’s Scale) 5 ระดับ ดังนี้
                         1 คะแนน หมายถึง มีการปฏิบัติตามขอความที่ถามนั้นในระดับนอยที่สุด

                         2 คะแนน หมายถึง มีการปฏิบัติตามขอความที่ถามนั้นในระดับนอย
                         3 คะแนน หมายถึง มีการปฏิบัติตามขอความที่ถามนั้นในระดับปานกลาง
                         4 คะแนน หมายถึง มีการปฏิบัติตามขอความที่ถามนั้นในระดับมาก

                         5 คะแนน หมายถึง มีการปฏิบัติตามขอความที่ถามนั้นในระดับมากที่สุด
                        การคิดคะแนนโดยใชคาเฉลี่ย คาคะแนนที่ไดจะอยูในชวง 1-5 คะแนน การแปลผล
                คะแนน แบงออกเปน 4 ระดับ ตามเกณฑการประเมินพฤติกรรมจริยธรรมของพยาบาลตอผูปวย
                ของสภาการพยาบาล (2558) ดังนี้

                คะแนนเฉลี่ย 1.00–2.50 หมายถึง จริยธรรมการสอนของอาจารยพยาบาลอยูในระดับพอใช
                คะแนนเฉลี่ย 2.51–3.50 หมายถึง จริยธรรมการสอนของอาจารยพยาบาลอยูในระดับปานกลาง
                คะแนนเฉลี่ย 3.51–4.50 หมายถึง จริยธรรมการสอนของอาจารยพยาบาลอยูในระดับดี
                คะแนนเฉลี่ย 4.51–5.00 หมายถึง จริยธรรมการสอนของอาจารยพยาบาลอยูในระดับดีมาก

                        การหาคุณภาพของเครื่องมือ
                        แบบสอบถามจริยธรรมการสอนของอาจารยพยาบาล มีการตรวจสอบความตรงของ
                เนื้อหาโดยผูทรงคุณวุฒิ ที่มีผูเชี่ยวชาญเกี่ยวกับจริยธรรมและเปนอาจารยพยาบาล จํานวน 3
                ทาน ตรวจสอบความถูกตองในเนื้อหา ภาษาที่ใช ความถูกตองทางทฤษฎี ไดคาดัชนีความ

                เที่ยงตรงเชิงเนื้อหา(content validity index) เทากับ.93 แลวนํามาปรับปรุงแกไขและ
                ตรวจสอบคาความเที่ยงของแบบสอบถามโดยนําไปทดลองใชกับนักศึกษาพยาบาล จํานวน 30
                ราย แลวนําขอมูลที่ไดมาคํานวณหาความเที่ยงโดยวิธีการหาคาความสอดคลองภายใน (Internal
                Consistency) มีคาสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาคเทากับ .92

                        การพิทักษสิทธิของกลุมตัวอยาง
                       ผูวิจัยมีการชี้แจงขอมูลใหกลุมตัวอยางทราบเกี่ยวกับโครงการวิจัยโดยละเอียด
                ครอบคลุมดวยภาษาที่เขาใจงาย กลุมตัวอยางสามารถถอนตัวจากการเขารวมวิจัยไดตลอดเวลา
                โดยไมมีผลกระทบตอการศึกษาในหลักสูตร ขอมูลทั้งหมดของกลุมตัวอยางจะถูกเก็บเปน

                ความลับ และมีการนําเสนอขอมูลในภาพรวม และจะใชประโยชนในทางวิชาการเทานั้น และให
                เวลากลุมตัวอยางตัดสินใจ หลังจากนั้นจึงใหเซ็นยินยอมในใบยินยอมเขารวมการวิจัย
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33