Page 27 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 27

22  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.-3 July-September 2018

                     3) การเคารพเอกสิทธิ์ (respect for autonomy) หมายถึง การมีความเปนสวนตัว มี
             สิทธิในการปกครองตนเองในการกระทําตามความปรารถนาของตน หลักการเคารพสิทธิ์

             ครอบคลุมทั้งการตัดสินใจและการกระทําโดยการตัดสินใจบนพื้นฐานของคุณคาและความเชื่อ
             ของตน การตัดสินใจโดยมีขอมูลที่ถูกตองและเพียงพอ การตัดสินใจโดยอิสระจากผูบังคับ สวน
             ลักษณะของการกระทําอยางอิสระ ประกอบดวย การกระทําดวยความตั้งใจ การกระทําดวย
             ความเขาใจ และการกระทํา โดยไมมีอิทธิพลใดๆ มาควบคุม
                     4) ความยุติธรรม (Justice) หมายถึง การปฏิบัติดวยความเสมอภาคหรือเทาเทียมกัน

             ทุกคนมีสิทธิที่จะไดรับการบริการที่เทาเทียมกันไมคํานึงถึงเพศ เชื้อชาติ ศาสนา สถานภาพ
                     5) ความซื่อสัตย (fidelity) หมายถึง การรักษาสัญญา (promise keeping) และการ
             ปกปดความลับ (maintaining confidentiality)

                     6) การบอกความจริง (veracity or truth telling) หมายถึง การพูดความจริง ไมโกหก
             หลอกลวงผูอื่น ทั้งคําพูดและการกระทํา

             วิธีดําเนินการวิจัย

                     เปนการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive study) เพื่อศึกษาจริยธรรมการสอนของ
             อาจารยพยาบาลตามการรับรูของนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยราชธานี
                     ประชากร
                     ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้คือ นักศึกษาพยาบาลที่กําลังศึกษาในหลักสูตรพยาบาล

             ศาสตรบัณฑิตในปการศึกษา 2560 คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยราชธานี ในชั้นปที่ 2 จํานวน
             158 คน ชั้นปที่ 3 จํานวน 177 คน และชั้นปที่ 4 จํานวน 194 คน รวมทั้งหมดจํานวน 529 คน
                     กลุมตัวอยาง
                     กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้คือ นักศึกษาพยาบาลที่กําลังศึกษาในหลักสูตร

             พยาบาลศาสตรบัณฑิตในปการศึกษา 2560 คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยราชธานีนักศึกษา
             คณะพยาบาลมหาวิทยาลัยราชธานี โดยผูวิจัยไดกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางจากสูตรเครจซี่และ
             มอรแกน (Krejcie and Morgan,1970 อางในธีรวุฒิ เอกะกุล, 2543) ไดจํานวนกลุมตัวอยางเทากับ
             223 ราย เพื่อปองกันปญหาเกี่ยวกับความไมสมบูรณของคําตอบ ผูวิจัยจึงไดเพิ่มจํานวนกลุม

             ตัวอยางอีกรอยละ 10 เปนจํานวน 245 ราย โดยกําหนดจํานวนกลุมตัวอยางแตละชั้นปตามโควตา
             และเลือกกลุมตัวอยางแตละชั้นปโดยใชวิธีการสุมตัวอยางแบบงาย (Simple random sampling)
             จากลําดับที่นั่งเรียนของนักศึกษาที่เปนเลขคูจนครบจํานวนกลุมตัวอยางที่กําหนด
                     เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

                     เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบดวย แบบสอบถาม 2 สวน ไดแก
                     สวนที่ 1 แบบสอบถามขอมูลทั่วไป เปนแบบสอบถามขอมูลสวนบุคคล ประกอบดวย
             เพศ อายุ และชั้นป
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32