Page 33 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 33

28  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.-3 July-September 2018

             สรุปและอภิปรายผล
                     1. ผลการวิจัยพบวา จริยธรรมการสอนของอาจารยพยาบาลมีคาเฉลี่ยโดยรวมอยูใน

             ระดับดี  ( =3.91) ทั้งนี้เนื่องจาก อาจารยพยาบาล ซึ่งเปนผูประกอบวิชาชีพการพยาบาลและ
                      x
             การผดุงครรภ จะตองประกอบวิชาชีพดวยเจตนาดี ไมประพฤติหรือกระทําการใดๆ อันเปนเหตุ
             ใหเสื่อมเสียเกียรติแหงวิชาชีพตามขอบังคับสภาการพยาบาลวาดวยการรักษาจริยธรรมแหง
             วิชาชีพ พ.ศ. 2550 ตามหมวด 1 บททั่วไป ขอที่ 6 และวิชาชีพการพยาบาลตองปฏิบัติตาม
             จรรยาบรรณของวิชาชีพ ซึ่งเปนการสรางมาตรฐานพฤติกรรมของผูประกอบวิชาชีพใหปฏิบัติ

             ตามจรรยาบรรณที่ประกาศไวกับสังคม ซึ่งจรรยาบรรณกําหนดทั้งสิ่งที่ควรปฏิบัติและสิ่งที่ไมควร
             ปฏิบัติ และจรรยาบรรณเปนขอผูกพันสําหรับผูประกอบวิชาชีพ จึงมีการกําหนดโทษสําหรับ
             ผูกระทําผิดจรรยาบรรณ โดยมีโทษสูงสุดคือ การเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ซึ่งจะ

             ยังผลใหผูไดรับการเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพไมสามารถทํางานในวิชาชีพนั้นไดอีก
             ตอไป (สภาการพยาบาล, 2551) นอกจากนี้ อาจเนื่องจากบริบทของสังคมไทยเปนสังคมชาว
             พุทธ ซึ่งมีหลักจริยธรรมไทย ไดแก ความเมตตากรุณา ความออนนอมถอมตน ความซื่อสัตย และ
             ความยุติธรรม การไมฆา ไมเบียดเบียนผูอื่น และการไมโกหก ซึ่งคานิยมทางสังคมและศาสนามี

             สวนสําคัญตอการแสดงพฤติกรรมจริยธรรม เพราะเปนสิ่งที่หลอหลอมและกลอมเกลาทุกคนให
             เชื่อถือและยึดเหนี่ยว (อุดมรัตน สงวนศิริธรรมและสมใจ ศิระกมล, 2558)
                     2. ผลการวิจัยพบวา จริยธรรมการสอนของอาจารยดานการบอกความจริงเปนดานที่มี
             คาเฉลี่ยมากที่สุด ( =4.10) ซึ่งการบอกความจริงหมายถึง การพูดความจริง ไมโกหกหลอกลวง
                             x
             ผูอื่น ทั้งคําพูดและการกระทํา การพูดหรือการบอกความจริง เปนหลักจริยธรรมที่เปนพื้นฐาน
             ของสัมพันธภาพระหวางมนุษย เพราะมนุษยทุกคนคาดหวังที่จะไดรับความจริง ไมถูกหลอกลวง
             หรือโกหก อาจารยจะตองพูดหรือใหขอมูลนักศึกษาในสิ่งที่เปนความจริงเทานั้น เพราะการโกหก
             หลอกลวงจะสงผลกระทบตอความเชื่อถือ ไววางใจในอาจารย แมวาบางครั้งเปนการบอกความ

             จริงเกี่ยวกับความผิดพลาดของอาจารยเอง อาจารยจะตองมีความกลาหาญทางจริยธรรม
             (Moral courage) ในการบอกความจริงแกนักศึกษาถึงความผิดพลาดของอาจารยและแกไขให
             ถูกตอง และเมื่อพบวานักศึกษา ทําสิ่งใดผิดพลาด บกพรอง อาจารยจะตองสะทอนใหนักศึกษา

             ไดรับทราบถึงสิ่งที่ผิดพลาด บกพรองอยางเปดเผย ตรงไปตรงมา หากจะตองลงโทษก็ตองกระทํา
             ดวยความเมตตาสมเหตุสมผล เพื่อสรางความตระหนักใหกับนักศึกษาที่จะไมกระทําผิดซ้ํา การ
             กระทําดังกลาวจะสงผลใหนักศึกษาเกิดความชื่นชม ศรัทธาตออาจารย และเปนวิธีการบมเพาะ
             จริยธรรมใหกับนักศึกษาไดเปนอยางดี (อรัญญา เชาวลิต, 2559) และเมื่อพิจารณารายขอพบวา
             จริยธรรมการสอนขอมีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ อาจารยมีการอางอิงที่มาของเนื้อหาที่สอน ( =4.21)
                                                                                     x
             แสดงใหเห็นวา อาจารยพยาบาลคํานึงถึงจริยธรรมในการอางอิงแหลงที่มาของเนื้อหา โดยไมนํา
             ผลงานของผูอื่นมาลอกเลียนแบบหรือเอาผลงานของผูอื่นมาเปนของตนโดยไมอางอิงอยาง
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38