Page 11 - JRIHS VOL2 NO2 April-June 2018
P. 11

6  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.2 April-June 2018

                         3. ขั้นการศึกษาทําความเขาใจขอมูล/ความรูใหม และเชื่อมโยงความรูใหมกับ
             ความรูเดิม ในขั้นตอนนี้ผูเรียนตองเผชิญปญหา และทําความเขาใจกับขอมูล โดยผูเรียนตอง

             สรางความหมายของขอมูล ประสบการณใหม ๆ โดยใชกระบวนการตาง ๆ ดวยตนเอง เชน การ
             ใชกระบวนการคิด กระบวนการกลุมในการอภิปรายและสรุปผล
                         4. ขั้นการแลกเปลี่ยนความรู ความเขาใจกับกลุม เปนขั้นตอนการใชกลุมเปน
             เครื่องมือในการตรวจสอบความรู ความเขาใจของตนเอง มีการแบงปนความรูความเขาใจของ
             ตนเองแกผูอื่น และไดรับความรู ความเขาใจของผูอื่นไปพรอม ๆ กันจากการแลกเปลี่ยนภายใน

             กลุม
                         5. ขั้นการสรุปและจัดระเบียบความรู เปนขั้นตอนของการสรุปความรูที่ไดรับ
             ทั้งหมด ทั้งความรูเดิมและความรูใหม และจัดสิ่งที่เรียนรูใหเปนระบบระเบียบ เพื่อชวยใหจดจํา

             สิ่งที่เรียนรูไดงาย
                         6. ขั้นการแสดงผลงาน เปนขั้นตอนที่ชวยใหผูเรียนไดมีโอกาสแสดงผลงานการ
             สรางความรูของตนเองใหผูอื่นรับรู เปนการชวยใหผูเรียนไดตรวจสอบความรูความเขาใจ และ
             ชวยใหจดจําสิ่งที่เรียนรูไดงายขึ้น

                         7. ขั้นประยุกตใชความรู เปนขั้นตอนการสงเสริมใหผูเรียนไดนําความรู ความเขาใจ
             ของตนเองไปใชในสถานการณตาง ๆ ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่มความชํานาญ ความเขาใจ
             ความสามารถในการแกปญหา และความจําในเรื่องนั้น ๆ
                     ทั้งนี้ในการจัดการเรียนรูแตละครั้ง หรือแตละเรื่อง จะตองเปดโอกาสในเรื่องตาง ๆ ใหกับ

             ผูเรียนดวย ไดแก 1) การเปดโอกาสใหผูเรียนเปนผูเลือกหรือตัดสินใจในเนื้อหาสาระที่สนใจ เปน
             ประโยชนตอตัวผูเรียน และ 2) การเปดโอกาสใหผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรูไดคิด ได
             รวบรวมความรูและลงมือปฏิบัติจริงดวยตนเอง โดย ทิศนา แขมมณี (2557) ไดนําเสนอแนวคิดใน
             การเปดโอกาสใหผูเรียนมีสวนรวม และสามารถนําไปใชเปนแนวปฏิบัติได ดังนี้

                         1. กิจกรรมการเรียนรูที่ดีที่ควรชวยใหผูเรียนไดมีสวนรวมทางดานรางกาย
             (Physical Participation) คือ กิจกรรมที่ผูเรียนไดมีโอกาสเคลื่อนไหวรางกายเพื่อชวยให
             ประสาทการเรียนรูของผูเรียนตื่นตัวพรอมที่จะรับขอมูลและการเรียนรูตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้น
                         2. กิจกรรมการเรียนรูที่ดีควรชวยใหผูเรียนไดมีสวนรวมทางสติปญญา (Intellectual

             Participation) คือ กิจกรรมที่ชวยใหผูเรียนเกิดการเคลื่อนไหวทางสติปญญา โดยเปนกิจกรรมที่ทา
             ทายความคิดของผูเรียน สามารถกระตุนสมองของผูเรียนใหเกิดการเคลื่อนไหว โดยกิจกรรมจะตอง
             เปนเรื่องที่ไมยากหรืองายเกินไป และจะตองทําใหผูเรียนเกิดความสนุกที่จะคิด
                         3. กิจกรรมการเรียนรูที่ดีควรชวยใหผูเรียนมีสวนรวมทางสังคม (Social

             Participation) คือ กิจกรรมที่ชวยใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธทางสังคมกับบุคคลหรือสิ่งแวดลอมรอบตัว
                         4. กิจกรรมการเรียนรูที่ดีควรชวยใหผูเรียนไดมีสวนรวมทางอารมณ (Emotional
             Participation) คือ กิจกรรมที่สงผลตออารมณ ความรูสึกของผูเรียน ซึ่งจะชวยใหการเรียนรูนั้น
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16