Page 7 - JRIHS VOL2 NO2 April-June 2018
P. 7

2  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.2 April-June 2018

             บทนํา
                     การจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง หรือ การเรียนการสอนแบบเนน

             ผูเรียนเปนสําคัญ (Student Centered Learning หรือ Child Centered Learning) มาจาก
             แนวคิดของ จอหน ดิวอี้ (John Dewey) ซึ่งเปนตนคิดในเรื่องการเรียนรูโดยการกระทํา หรือ
             learning by doing โดยมีรูปแบบของการจัดการเรียนการสอนที่ใหผูเรียนเปนผูลงมือปฏิบัติ
             เปลี่ยนบทบาทจาก “ผูรับ” มาเปน “ผูเรียน” และบทบาทของ “ครู” จากผูถายทอดขอมูล มา
             เปน “ผูจัดประสบการณการเรียนรู” (จิราภรณ ชมศรี, 2559; ชาตรี เกิดธรรม, 2542) นอกจากนี้

             การจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง ยังเกิดขึ้นจากพื้นฐานความเชื่อที่วา เปาหมาย
             สําคัญของการจัดการศึกษาคือ การจัดการใหผูเรียนเกิดการเรียนรู เพื่อใหผูเรียนแตละคนได
             พัฒนาตนเองสูงสุดตามกําลัง หรือศักยภาพของแตละคน แตเนื่องจากผูเรียนแตละคนมีความ

             แตกตางกันทั้งดานความตองการความสนใจ ความถนัด และยังมีทักษะพื้นฐานอันเปนเครื่องมือ
             สําคัญที่จะใชในการเรียนรู ซึ่งไดแก ความสามารถในการฟง พูด อาน เขียน ความสามารถทาง
             สมอง ระดับสติปญญา และการแสดงผลของการเรียนรูออกมาในลักษณะที่ตางกัน ดังนั้นในการ
             จัดการเรียนรูจึงควรมีการจัดการที่เหมาะสม ในลักษณะที่แตกตางกันตามเหตุปจจัยของผูเรียน

             แตละคน และผูที่มีบทบาทสําคัญในกลไกของการจัดการนี้ คือ ผูสอน (สํานักวิชาการและ
             ประมวลผล มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด, 2556)
                     ประเทศไทยไดนําแนวคิดการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลางมาใช โดย
             มีการปฏิรูปการจัดการเรียนรูในระดับโรงเรียนและมหาวิทยาลัย จากการเรียนรูที่เนนบทบาท

             ของครูผูสอน มาเปนการเนนผูเรียนเปนสําคัญ ซึ่งไดประกาศไวในพระราชบัญญัติการศึกษา
             แหงชาติ พ.ศ.2542 และแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 อีกทั้งยังมีการกําหนดใหมีระบบ
             การประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ดังนั้น
             ทางคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) จึงไดกําหนดกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

             แหงชาติ (Thai Qualifications Framework for Higher Education: TQF) ขึ้น โดยมี
             วัตถุประสงคเพื่อใหการจัดการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยมุงสูเปาหมายเดียวกัน
             คือ การผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพไดมาตรฐานโดยกําหนดผลที่คาดวาจะไดรับ กลาวคือ อาจารยมี
             การพัฒนาวิธีการสอน นักศึกษามีการพัฒนาวิธีการเรียนรู บัณฑิตมีความรูความสามารถ และ

             ไดรับการอบรมใหมีคุณธรรม จริยธรรม (สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา, 2552) คณะ
             พยาบาลศาสตรเปนคณะวิชาหนึ่งในสถาบันอุดมศึกษาที่ตระหนักถึงความสําคัญดังกลาว จึงได
             นํารูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลางมาใช


             ความหมายของการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง
                     การเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง ไดมีผูอธิบายและใหความหมายไวหลาย
             ทาน เชน ชนาธิป พรกุล (2543) ไดอธิบายวา การเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง คือการ
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12