Page 14 - JRIHS VOL2 NO2 April-June 2018
P. 14

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.2 April-June 2018   9

                สนุกสนานกับการเรียน พึงพอใจตอการมีสวนรวมในการเรียน การทํางานเปนทีม และมีความ
                รับผิดชอบตอการเรียนมากขึ้น

                        สวนการศึกษาของสมพิศ ใยสุน ปรียารัตน รัตนวิบูลย และชลดา จันทรขาว (2559) ซึ่ง
                ใชการเรียนรูโดยใชทีมเปนฐานในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาการพยาบาลมารดาและ
                ครอบครัวในระยะตั้งครรภของนักศึกษาพยาบาลชั้นปที่ 3 วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย
                พบวา ผูเรียนมีคะแนนเฉลี่ยความรู และการรับรูผลการเรียนหลังเขารวมกิจกรรมสูงกวากอนเขา
                รวมกิจกรรม

                        5. การสอนแบบโครงการ (Project-Based Learning) เปนรูปแบบการจัดการเรียนรูที่
                ใชกระบวนการกลุมเขามาชวยในการจัดการเรียนรู โดยผูเรียนไดชวยกันสํารวจ สังเกต คนหา
                และกําหนดเรื่องที่สนใจ ทําการวางแผนและเขียนโครงการ ลงมือปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว จน

                ไดขอคนพบ สิ่งประดิษฐ หรือนวัตกรรมใหม โดยผูเรียนจะตองนําเสนอ อภิปรายผล และสรุปผล
                การเรียนรูที่ได นอกจากนี้ยังกอเกิดสัมพันธภาพที่ดีระหวางผูสอนและผูเรียนอีกดวย (เกรียงศักดิ์
                เจริญวงศศักดิ์, 2548; วิภาดา แสงนิมิตรชัยกุล 2555; ทิศนา แขมมณี, 2557;)
                        ดังเชนการศึกษาของดวงเนตร ธรรมกุล, วนิดา ตันเจริญรัตน, และพูนทรัพย ลาภเจียม

                (2557) ซึ่งไดจัดการเรียนการสอนแบบโครงการใหแกนักศึกษาพยาบาลชั้นปที่ 4 ในรายวิชาการ
                พยาบาลบุคคลที่มีปญหาสุขภาพ 3 ของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดนนทบุรี และทํา
                การประเมินผูเรียนโดยใชแบบทดสอบความรูชนิดตัวเลือก แบบประเมินทักษะดานคุณธรรม
                จริยธรรม ทักษะดานความรู และทักษะทางปญญา และแบบประเมินความพึงพอใจ พบวา

                ผูเรียนมีผลการเรียนหลังการจัดการเรียนแบบโครงการสูงกวากอนการจัดการเรียนเล็กนอยแตไม
                แตกตางทางสถิติในคราวเดียวกันพบวาผูเรียนมีคะแนนทักษะดานคุณธรรม จริยธรรม ดาน
                ความรู และทักษะทางปญญาโดยรวมแตละดานอยูในระดับมาก และผูเรียนใหคะแนนความพึง
                พอใจในการจัดการเรียนแบบโครงการในระดับมากเชนเดียวกัน

                        6. การสอนแบบใชคําถามเปนฐาน (Question Based Learning) เปนรูปแบบการ
                จัดการเรียนการสอนที่มุงพัฒนาทักษะการคิด การตีความ การไตรตรอง การถายทอดความคิด
                โดยผูสอนจะปอนคําถามในลักษณะตาง ๆ ที่เปนคําถามที่ดี ผูเรียนตองใชความคิดเชิงเหตุผล

                วิเคราะห วิจารณ สังเคราะห หรือการประเมินคาเพื่อจะตอบคําถามเหลานั้น การจัดการเรียน
                การสอนรูปแบบนี้จะชวยสรางความรู ความเขาใจ และพัฒนาความคิดใหม ๆ อีกทั้งยังชวยขยาย
                ทักษะการคิด ทําความเขาใจใหกระจางได (รังสินี พูลเพิ่ม, จันทนา โปรยเงิน, แสงจันทร สุนันตะ
                และนนทิกา พรหมเปง, 2561)
                        ดังเชนการศึกษาของรังสินี พูลเพิ่ม, จันทนา โปรยเงิน, แสงจันทร สุนันตะ, และนนทิกา

                พรหมเปง (2561) ซึ่งทําการศึกษาประสิทธิผลของการเรียนการสอนโดยใชคําถามเปนฐานของ
                นักเรียนพยาบาลชั้นปที่ 4 วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก โดยใชแบบการสรุปผลการเรียนรูของ
                นักเรียนหลังการเรียน แบบสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจเปน
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19