Page 13 - JRIHS VOL2 NO2 April-June 2018
P. 13

8  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.2 April-June 2018

             การสอนรูปแบบนี้คือ ผูเรียนรูสึกสนุกและมีความอยากเรียนมากขึ้น มีความเชื่อมั่นในตนเองและ
             มีพฤติกรรมการแสดงออกมากขึ้นเมื่อขึ้นฝกปฏิบัติการพยาบาลบนหอผูปวย

                     3. การสอนแบบศูนยการเรียน (Learning Center) เปนกระบวนการเรียนที่บูรณาการ
             ระหวางการใชสื่อประสมกับกระบวนการกลุม เนนกิจกรรมเพื่อสรางสถานการณใหเกิดการ
             เรียนรู โดยผูเรียนศึกษาหาความรูดวยตนเองตามความตองการ ความสนใจ การเรียนรูปแบบนี้
             จะประกอบของศูนยการเรียน คูมือครูผูสอน แบบฝกหัดปฏิบัติสําหรับผูเรียน สื่อสําหรับศูนย
             กิจกรรม แบบทดสอบสําหรับการประเมินผล (นภดล ยิ่งยงสกุล, 2554)

                     ดังเชนการศึกษาของเบญจมาภรณ นาคามดี, ชรินธร วองวีระยุทธ และอายุพร กัยวิกัย
             โกศลม (2554) ซึ่งไดจัดการเรียนการสอนแบบศูนยการเรียนรูรายวิชาการพยาบาลมารดา ทารก
             และการผดุงครรภ 1 ของนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปที่ 3 วิทยาลัยพยาบาลบรมราช

             ชนนี พุทธชินราช โดยกิจกรรมที่ผูสอนใชวิธีการสอนหลากหลายวิธีตามลักษณะของเนื้อหา
             ไดแก การซักประวัติ การติดตามผลตรวจทางหองปฏิบัติการ และการคัดกรองภาวะเสี่ยงและ
             การสงตอ ทําการสอนโดยการอภิปรายกรณีศึกษา สวนการตรวจรางกาย การตรวจครรภ กลไก
             การคลอด การทําคลอดและการชวยเหลือการคลอดปกติ การตรวจรก และการประเมินภาวะ

             สุขภาพทารกแรกเกิดทันที ใชการสอนแบบสาธิตและสาธิตยอนกลับ ทําการการประเมินผลโดย
             ใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จํานวน 46 ขอ และใบงาน จากผลการจัดการเรียน
             แบบศูนยการเรียนรู พบวา ผูเรียนสวนใหญมีคะแนนอยูในระดับดี และมีความแตกตางอยางมี
             นัยสําคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลักเรียนแบบศูนยการ

             เรียนรู และมีคาเฉลี่ยความพึงพอใจอยูในระดับพึงพอใจมาก
                     4. การสอนแบบใชทีมเปนฐาน (Team-Based Learning, TBL) เปนรูปแบบการสอนที่
             เนนการรวมมือในการเรียนรูอยางสรางสรรค การทํางานรวมกันเปนทีม การพัฒนาความสามารถ
             ดานการคิด และการแกปญหา ใหผูเรียนรับผิดชอบในการเรียนรูดวยตนเอง (active learning)

             มีการเตรียมความพรอมในการอานหนังสือกอนเขาหองเรียน และเรียนโดยใชกิจกรรมกลุม
             ผูสอนทําหนาที่เปนผูอํานวยความสะดวก (สมพิศ ใยสุน, ปรียารัตน รัตนวิบูลย, และชลดา จันทร
             ขาว, 2559)
                     ดังเชนการศึกษาของปรางคทิพย อุจะรัตน, เสาวลักษณ สุขพัฒนศรีกุล และวิภาวี

             หมายพิมาย (2558) ซึ่งไดทําการศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา
             พยาบาลชั้นปที่ 2 ในรายวิชาทักษะพื้นฐานทางการพยาบาล ระหวางการสอนแบบบรรยายและ
             การสอนแบบการเรียนรูโดยใชทีม โดยใชใบงานประเด็นการเรียนรูตามกรอบวัตถุประสงค แบบ
             ประเมินความพรอมในการเรียนรูรายบุคคลและรายกลุม การดคําตอบ และกรณีศึกษาเปน

             เครื่องมือวิจัย ทําการประเมินผลโดยใชขอสอบปรนัยแบบเลือกตอบ และแบบสอบถามความพึง
             พอใจตอการสอนแบบการเรียนรูโดยทีม พบวา ผูเรียนที่ไดรับการสอนแบบการเรียนรูโดยใชทีม
             มีคาเฉลี่ยคะแนนสอบไมแตกตางจากผูเรียนที่ไดรับการสอนแบบบรรยาย แตผูเรียนรูสึก
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18