Page 47 - JRIHS VOL2 NO1 January-March 2018
P. 47

42  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.1 January-March 2018

             หิว โดยใชแบบวัดมาตราสวนประมาณคา (rating scale) 5 ระดับ ไดแก (5) มีปญหาในระดับมาก
             ที่สุด (4) มีปญหาในระดับมาก (3) มีปญหาในระดับปานกลาง  (2) มีปญหาในระดับนอย  (1) มี

             ปญหาในระดับนอยที่สุด
                     สวนที่ 4 แบบประเมินความเครียด เปนแบบวัดความเครียดของกรมสุขภาพจิต (SPST -
             20) จํานวน 20 ขอ ประกอบดวยขอมูลเกี่ยวกับ ความรูสึกของบุคคลตอเหตุการณ สถานการณ
             ณ เวลาที่บุคคลเผชิญ มีลักษณะคําตอบเปนแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ ไดแก ระดับ
             ความเครียด 1 หมายถึง ไมรูสึกเครียด  ระดับความเครียด 2 หมายถึง รูสึกเครียดเล็กนอย  ระดับ

             ความเครียด 3 หมายถึง รูสึกเครียดปานกลาง  ระดับความเครียด 4 หมายถึง รูสึกเครียดมาก
             ระดับความเครียด 5 หมายถึง รูสึกเครียดมากที่สุด
                     สวนที่ 5 แบบประเมินคุณภาพการนอนหลับ เปนแบบวัดคุณภาพของ Pittsburgh ฉบับ

             ไทยของ Thaiversion - The Pittsburgh SleepQuality Index (PSQI) แปลโดย ตะวันชัย จิร
             ประมุขพิทักษ จํานวน 9 ขอ ประกอบดวย 7 องคประกอบ ไดแก
                     องคประกอบที่  1 คุณภาพการนอนหลับเชิงอัตนัย (ใช คําถาม 5 ขอ)
                     องคประกอบที่ 2 ระยะเวลาตั้งแตเขานอนจนกระทั่งหลับ (ใชคําถามขอ 2 และ 9.1)

                     องคประกอบที่ 3 ระยะเวลาของการนอนหลับ (ใชคําถามขอที่ 4)
                     องคประกอบที่ 4 ประสิทธิภาพของการนอนหลับโดยปกติวิสัย (ใชคําถาม 1,3 และ4)
                     องคประกอบที่ 5 การรบกวนการนอนหลับ (ใชคําถามขอ 9.2 - 9.10)
                     องคประกอบที่ 6 การใชยานอนหลับ (ใชคําถามขอ 6)

                     องคประกอบที่ 7 ผลกระทบตอการทํากิจกรรมในเวลากลางวัน (ใชคําถามขอ 7 และ 8)
                     ผลรวมคะแนนคุณภาพการนอนหลับ ถาผลรวมคะแนนนอยกวาหรือเทากับ 5 คะแนน
             แสดงวามีคุณภาพการนอนหลับที่ดี ถาผลรวมคะแนนมากกวา 5 แสดงวามีคุณภาพการนอนหลับ
             ที่ไมดี

                     การหาคุณภาพเครื่องมือ
                     ผูวิจัยไดดําเนินการสรางแบบสอบถามตามกรอบแนวคิด การตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา
             (Content Validity) โดยผูทรงคุณวุฒิ 3 ทานและนําแบบสอบถามไปทดลองใช (Try-Out) กับ
             นักศึกษาชั้นปที่ 1-3 มหาวิทยาลัยราชธานี จํานวน 30 คน ซึ่งเปนกลุมประชากรที่คุณสมบัติ

             ใกลเคียงกับกลุมตัวอยางที่จะใชศึกษาวิจัย ดวยการสุมตัวอยางงาย (Simple Random
             Sampling) เพื่อหาคาอํานาจจําแนกรายขอ และคาความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถาม
             ทั้งฉบับ โดยวิธีหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟาของคอนบราค (Conbach’s Alpha Coeffcient)
             เทากับ .89

                     การเก็บรวบรวมขอมูล
                     การศึกษาครั้งนี้ผูวิจัยเก็บขอมูลดวยตนเอง โดยผูวิจัยแนะนําตัวพรอมทั้งบอก
             วัตถุประสงคและกระบวนการวิจัยแกกลุมตัวอยาง ณ หองเรียนประจําของแตละชั้นป ขอความ
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52