Page 44 - JRIHS VOL2 NO1 January-March 2018
P. 44

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018   39

                ศาสตรมหาวิทยาลัยบูรพา รวมจํานวน 40 คน สวนใหญ (รอยละ 82.50) มีปญหาในการนอน
                หลับ มีพฤติกรรมหลับในเวลาเรียน และเมื่อถามถึงผลกระทบ นักศึกษาเหลานี้ใหความเห็นวา

                เมื่อตนหลับในเวลาเรียน ทําใหเรียนไมรูเรื่องไมเขาใจในเนื้อหาที่อาจารยสอน ไมสามารถจับ
                ประเด็นในสวนที่สําคัญได และไมสามารถตอบคําถามได ทําใหผลการสอบไมเปนไปตามเกณฑ
                สวนปญหาที่พบบอยคือ พฤติกรรมการเขานอนและตื่นนอนไมตรงเวลา การรับประทานอาหาร
                และดื่มเครื่องดื่มกอนนอน และการใชยาและสารตาง ๆ กอนนอน
                        จากแนวคิดของสปลแมน (Speilman, อางใน สุดารัตน ชัยอาจ และพวงพะยอม

                ปญญา, 2548) พบวาสาเหตุของการนอนไมหลับเปนผลมาจากปจจัยโนมนํา(predisposing
                factors) ไดแกอายุ เพศ ปจจัยกระตุน (precipitating factors) ไดแก ความเครียด ความวิตก
                กังวล และสิ่งแวดลอมปจจัยคงอยู (perpetuating factors) ไดแก พฤติกรรมที่ไมเหมาะสม

                เกี่ยวกับการนอน จากการศึกษาของผาณิตา ชนะมณีและคณะ (2549) ศึกษาคุณภาพการนอน
                หลับ และปจจัยที่มีความสัมพันธกับคุณภาพการนอนหลับของนักศึกษากลุมตัวอยางเปน
                นักศึกษามหาวิทยาลัยในภาคใต พบวา กลุมตัวอยางรอยละ 76.3 มีคุณภาพการนอนหลับจาก
                การประเมินดวยแบบวัดดัชนีคุณภาพการนอนหลับของพิตสเบิรก (The Pittsburgh Sleep

                Quality Index) อยูในเกณฑไมดี โดยการรับรูภาวะสุขภาพ สุขนิสัยการนอนหลับ และ
                ความเครียด มีความสัมพันธกับคุณภาพการนอนหลับ  จากการศึกษาของดารัสนี โพธารส (
                2560 ) ที่ศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับคุณภาพการนอนหลับของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร
                มหาวิทยาลัยบูรพา พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีคุณภาพการนอนหลับดี คิดเปนรอยละ 57.53

                คาเฉลี่ยคะแนนคุณภาพการนอนหลับเทากับ 5.29 ± 1.80 คะแนน ปจจัยที่มีความสัมพันธกับ
                คุณภาพการนอนหลับของนิสิตพยาบาลมากที่สุด คือ ระดับความเครียด รองลงมา คือ ระดับ
                ความวิตกกังวล แบบแผนการดําเนินชีวิตโดยรวม โดยปจจัยที่มีความสัมพันธกับคุณภาพการ
                นอนหลับที่ไมดี ไดแก ระดับความเครียด ระดับความวิตกกังวล แบบแผนการดําเนินชีวิตโดยรวม

                สวนปจจัยที่มีความสัมพันธกับคุณภาพการนอนหลับที่ดี ไดแก การนอนหลับในหองที่มีอากาศ
                ถายเทสะดวกหรือหองที่มีอากาศเย็นสบายและการนอนหลับในหองที่เงียบสงบ ปราศจากเสียง
                รบกวนนักศึกษาที่มีสุขนิสัยการนอนหลับที่ดี มีแนวโนมที่จะมีคุณภาพการนอนหลับที่ดี เนื่องจาก
                สุขนิสัยการนอนหลับที่ดีครอบคลุมพฤติกรรมที่สงเสริมคุณภาพการนอนหลับ

                        คุณภาพการนอนหลับเปนพฤติกรรมและความรูสึกเกี่ยวกับการนอนหลับตั้งแตเขานอน
                จนกระทั่งตื่นนอน การที่บุคคลจะกลาวถึงคุณภาพการนอนหลับวาดีหรือไมนั้นสามารถบอกได
                โดยการประเมินของบุคคลนั้นเอง คุณภาพการนอนหลับมีความสําคัญและเปนตัวบงชี้ถึงภาวะ
                สุขภาพ ความผาสุก และวิถีการดําเนินชีวิตที่มีสุขภาพดีของบุคคล รวมทั้งบงชี้ถึงปญหาการนอน

                หลับดวย ทั้งนี้การศึกษาเกี่ยวกับคุณภาพการนอนหลับและปจจัยที่มีความสัมพันธกับคุณภาพ
                การนอนหลับของนักศึกษาพยาบาลยังนอย ซึ่งการศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต
                นักศึกษาพยาบาลตองฝกประสบการณวิชาชีพ รับผิดชอบตอผูรับบริการหรือผูปวย คุณภาพการ
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49