Page 52 - JRIHS VOL2 NO1 January-March 2018
P. 52

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018   47

                ความเครียดสูงจะมีคะแนนคุณภาพการนอนหลับที่สูง ซึ่งหมายความวามีคุณภาพการนอนหลับที่
                ไมดี เนื่องจากความเครียดเปนสิ่งกระตุนใหรางกายหลั่งฮอรโมนที่ทําใหเกิดความเครียด เชน

                คอรติซอล(cortisol)  แคทีโคลามิน (catecholamine) ฮอรโมนเหลานี้จะไปกระตุนสมองทําให
                ตื่นตัวตลอดเลาจึงมีโอกาสนอนหลับไดไมเต็มที่ เปนผลใหคุณภาพการนอนหลับไมดี ใน
                ขณะเดียวกัน อาการนอนไมหลับจะกระตุนใหรางกายหลั่งฮอรโมนเหลานี้ออกมา ทําใหเกิด
                ความเครียดทั้งรางกายและจิตใจเปนวงจรสลับกันไป (ดารัสณี โพธารส,2560) นอกจากนี้การ
                ทํางานของระบบประสาทซิมพาเทติกที่เพิ่มขึ้นสงผลใหอัตราการหายใจ ความดันโลหิต และ

                ความตึงตัวของกลามเนื้อเพิ่มขึ้น ทําใหเกิดการกระสับกระสาย นอนไมหลับ ตื่นในชวงระหวาง
                การนอนหลับบอยครั้งและไมสามารถนอนหลับตอได (อินทิรา ปากันทะ, 2550) สอดคลองกับ
                งานวิจัยของดารัสณี โพธารส (2560) ที่พบวาระดับความเครียดมีความสัมพันธทางบวกกับ

                คุณภาพการนอนหลับของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา
                        สิ่งแวดลอมทางกายภาพ (r=.31, p=.00) มีความสัมพันธทางบวกตอคุณภาพการนอน
                หลับ โดยพบวาสิ่งแวดลอมดานอุณหภูมิรอนรบกวนการนอนหลับมากที่สุด(X = 4.35) รองลงมา
                                                                              �
                คือ เสียง (X = 3.19) อาจเนื่องจากอุณหภูมิที่สูงเกินไปและเสียงดังทําใหเกิดความไมสุขสบาย
                         �
                และนอนไมหลับ โดยในขณะนอนหลับระยะที่มีการกลอกตาเร็ว (REM sleep) รางกายจะไมมี
                การควบคุมอุณหภูมิ ดังนั้นอุณหภูมิจากสิ่งแวดลอมจะสงผลตออุณหภูมิในรางกาย(จินดารัตน
                ชัยอาจ, 2556) ซึ่งอุณหภูมิที่เหมาะสมตอการนอนหลับคือ 18 องศาเซลเซียส แตถาอุณหภูมิหอง
                เกินกวา 24 องศาเซลเซียส จะทําใหรางกายมีการเคลื่อนไหวระหวางนอน ทําใหการนอนระยะ

                หลับลึก (NREM 3) และการนอนหลับระยะที่มีการกลอกตาเร็วลดลง จึงตื่นบอย สอดคลองกับ
                นาฎนภา อารยะศิลปะธร และคณะ (2557) ที่ศึกษาปจจัยที่มีผลตอคุณภาพการนอนหลับของ
                นักศึกษาพยาบาลในวิทยาลัยแหงหนึ่ง โดยพบวาปจจัยสิ่งแวดลอมมีความสัมพันธกับคุณภาพ
                การนอนหลับในดานอุณหภูมิความรอน

                        สุขนิสัยเกี่ยวกับการนอนหลับ (r=-.23, p=.00) มีความสัมพันธทางลบตอคุณภาพการ
                นอนหลับ อธิบายไดวา นักศึกษาที่มีคะแนนสุขนิสัยเกี่ยวกับการนอนหลับต่ําจะมีคะแนนคุณภาพ
                การนอนหลับสูง ซึ่งหมายความวามีคุณภาพการนอนหลับที่ไมดี สอดคลองกับการศึกษาของผาณิ

                ตา ชนะมณี(2549) ที่พบวาสุขนิสัยการนอนหลับมีความสัมพันธกับคุณภาพการนอนหลับของ
                นักศึกษามหาวิทยาลัยในภาคใต เมื่อพิจารณาดานการนอนหลับพบวานักศึกษามีการงีบหลับใน
                หองเรียนบอยครั้ง อาจเปนเพราะวานักศึกษามีคุณภาพการนอนที่ไมดีจึงมีการงวงนอนในเวลา
                กลางวันทําใหตองงีบหลับในหองเรียน ดานการรับประทานอาหารและเครื่องดื่มพบวานักศึกษามี
                การดื่มเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ และรับประทานอาหารที่มีไขมันสูงพวกเนื้อสัตวติดมันในตอน

                เย็นเปนประจํา ดานการออกกําลังกายพบวานักศึกษามีการออกกําลังกายนานๆ ครั้ง ซึ่งเปน
                พฤติกรรมที่ทําใหคุณภาพการนอนหลับไมดี สอดคลองกับการศึกษาของ ดารัสนี โพธารส (
                2560 ) พบวานักศึกษาคณะพยาบาลศาสตรมหาวิทยาลัยบูรพา รวมจํานวน 40 คน สวนใหญ
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57