Page 51 - JRIHS VOL2 NO1 January-March 2018
P. 51

46  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.1 January-March 2018

             ตารางที่ 4 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (r) ของปจจัยตางๆ กับคุณภาพการนอนหลับของนักศึกษา
             พยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยราชธานี

               ตัวแปรที่ศึกษา                    คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (r)     p-value
               อายุ                                          .04                      .63
               ชั้นปที่ 1                                   .03                      .70
               ชั้นปที่ 2                                   -.04                     .54

               ชั้นปที่ 3                                   .02                      .80
               สุขนิสัยเกี่ยวกับการนอนหลับ                  -.23**                    .00
               สิ่งแวดลอมทางกายภาพ                         .31**                     .00
               ความเครียด                                   .34**                     .00

             **p-value<.01
                     จากตารางที่ 4 พบวา ปจจัยที่มีความสัมพันธกับคุณภาพการนอนหลับของนักศึกษา
             พยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยราชธานี ไดแก ความเครียด (r=.34, p=.00) สิ่งแวดลอมทาง
             กายภาพ (r=.31, p=.00) สุขนิสัยเกี่ยวกับการนอนหลับ (r=-.23, p=.00)


             สรุปและอภิปรายผล
                     1. คุณภาพการนอนหลับของนักศึกษาพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยราชธานี อยูใน

             ระดับไมดี ทั้งนี้อาจเปนเพราะนักศึกษามีความเครียดตองเรียนทั้งทฤษฎีและฝกปฏิบัติงานบนหอ
             ผูปวยตองไดรับมอบหมายใหดูแลผูปวย จึงตองเตรีมความพรอมทั้งความรูและฝกปฏิบัติใน
             หองปฏิบัติการกอนขึ้นฝก ทําใหตองนอนดึกและตื่นเชา และยังมีการดื่มชา กาแฟ เพราะตองการ
             ใหรางกายสดชื่นไมงวงนอนในเวลาเรียนหรือฝกปฏิบัติงาน ทําใหพอถึงเวลากลางคืนกลับไมงวง

             นอน และจากผลการวิจัยนักศึกษาสวนใหญพักอยูในหอพักของมหาวิทยาลัยราชธานีซึ่ง
             สิ่งแวดลอมทางกายภาพ ไดแก อุณหภูมิที่รอนเกินไปและการทําเสียงดัง ทําใหรบกวนการนอน
             หลับของนักศึกษา สอดคลองกับการศึกษาของนาฎนภา อารยะศิลปะธร และคณะ (2557) ที่
             ศึกษาปจจัยที่มีผลตอคุณภาพการนอนหลับของนักศึกษาพยาบาลในวิทยาลัยแหงหนึ่ง โดยพบวา

             ปจจัยสิ่งแวดลอมมีความสัมพันธกับคุณภาพการนอนหลับในดานอุณหภูมิความรอน และ
             สอดคลองกับการศึกษาของ Lund, Reider, Whiting and Prichard, 2010 อางถึงใน ดารัสนี
             โพธารส, 2560) ที่พบวา มากกวารอยละ 60.00 ของนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยตอนกลางดาน
             ตะวันตกของประเทศสหรัฐอเมริกา มีคะแนนคุณภาพการนอนหลับอยูในเกณฑที่ไมดี

                     2. ปจจัยที่มีความสัมพันธตอคุณภาพการนอนหลับของนักศึกษาพยาบาลศาสตร
             มหาวิทยาลัยราชธานี ผลการวิจัยพบวา
                     ความเครียด มีความสัมพันธมากที่สุดตอคุณภาพการนอนหลับ โดยมีความสัมพันธ

             ทางบวกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=.34, p=.00) อธิบายไดวา นักศึกษาที่มี
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56