Page 43 - JRIHS VOL2 NO1 January-March 2018
P. 43
38 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018
Abstract
This descriptive research aimed to study quality of sleep and factors
related to nursing students, Faculty of Nursing Ratchathani University. The samples
were 194 nursing students who were studying in 2018 and were recruited by Multi-
stage Random Sampling. The research instrument was a survey questionnaire
which a reliability coefficient of .84 respectively. The statistics used in data analysis
included the following: percentage, arithmetic mean, standard deviation, and
Pearson Product Moment Correlation Coefficient. The research findings are as
follows: The samples had the bad of sleep. The mean of quality of sleep was
6.58. The factors associated with sleep quality of nursing students were stress,
environment, and behaviors of sleep.
This study has suggested that instructors realize the importance of the
stress of nursing students by continuously evaluating stress score of nursing
students, helping to relieve stress that exercise for healthy everyday
Keywords: quality of sleep, factors related to, nursing students
บทนํา
การนอนหลับเปนความจําเปนขั้นพื้นฐานของมนุษย ชวยสงเสริมกระบวนการ
เจริญเติบโตและความแข็งแรงของรางกาย ซอมแซมเนื้อเยื่อที่ถูกทําลายหรือไดรับความเสียหาย
ชวยสรางและสะสมพลังงานเพื่อนํามาใชในการทํางานของระบบ ตาง ๆ ในรางกาย ชวยสงเสริม
กระบวนการเรียนรูและความจํา ชวยใหบุคคลเผชิญกับเหตุการณที่คุกคามความผาสุกหรือภาวะ
วิกฤตที่เกิดขึ้นในขณะเจ็บปวยไดอยางราบรื่น (ดารัสนี โพธารส, 2560) หากบุคคลใดมีแบบ
แผนการนอนหลับเปนปกติจะสงผลใหบุคคลนั้นสามารถทํากิจกรรมในขณะตื่นไดอยางมี
ประสิทธิภาพ แสดงถึงการนอนหลับที่เพียงพอกับความตองการของรางกาย หากบุคคลใดมี
ปญหาดานการนอนหลับ นอนหลับไมเพียงพอ จะทําใหเกิดความเหนื่อยลา ทําใหงวงนอนใน
ตอนกลางวันเพิ่มขึ้น ขาดความกระตือรือรน (ชลธิชา แยมมา, พีรพนธ ลือบุญธวัชชัย, 2556) ทํา
ใหเกิดอาการงีบหลับ ไมตื่นตัว ไมตอบสนองตอการรับรูใดๆ หรือรับรูไดชา อาจทําใหเกิด
อันตรายได ถาเกิดขึ้นระหวางที่กําลังขับรถหรือระหวางการทํางานที่ตองใชความเร็วหรือความ
แมนยํา นอกจากนี้การนอนหลับไมเพียงพอยังทําใหเกิดอาการหงุดหงิดงาย หรืออารมณเสียได
งาย และยังสงผลกระทบในดานจิตใจ หากนอนไมเพียงพอตื่นมาจะรูสึกไมสดชื่นระบบความจํา
ไมสามารถทํางานไดอยางเต็มที่ จําอะไรที่เรียนรูมาไดไมดีโดยเฉพาะถาเกิดในวัยรุน ซึ่งเปนวัยที่
กําลังศึกษา ถาเกิดปญหาเกี่ยวกับการนอนหลับไมเพียงพอจะสงผลตอคุณภาพการนอนหลับและ
การเรียนอีกดวย จากการศึกษาของ ดารัสนี โพธารส (2560) พบวา นักศึกษาคณะพยาบาล