Page 46 - JRIHS VOL2 NO1 January-March 2018
P. 46
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018 41
กรอบแนวคิดการวิจัย
ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดกําหนดตัวแปรเอการศึกษาตามกรอบแนวคิดของแนวคิด
ของสปลแมน (Speilman, 1986) ซึ่งกลาววาการนอนไมหลับเปนผลของปจจัยตางๆ รวมกัน 3
ประการคือ ปจจัยโนมนํา (predisposing factors) ปจจัยกระตุน (precipitating factors) และ
ปจจัยคงอยู (perpetuating factors) ซึ่งผูวิจัยไดนํามาเปนกรอบแนวคิด ดังนี้
1.ปจจัยโนมนํา
1.1ปจจัยสวนบุคคล
1.1.1 อายุ คุณภาพการนอนหลับของนักศึกษา
1.1.2 ระดับชั้นปที่กําลังศึกษา พยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยราชธานี
2.ปจจัยคงอยู
2.1 สุขนิสัยเกี่ยวกับการนอนหลับ
3.ปจจัยกระตุน
3.1 สิ่งแวดลอมทางกายภาพ
3.2 ความเครียด
ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย
วิธีดําเนินการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงบรรยาย(descriptive research) เพื่อศึกษาคุณภาพการ
นอนหลับและปจจัยที่มีความสัมพันธตอคุณภาพการนอนหลับของนักศึกษาพยาบาลศาสตร
มหาวิทยาลัยราชธานี
เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล แบงเปน 4 สวน ดังนี้
สวนที่ 1 แบบสอบถามขอมูลสวนบุคคล ประกอบดวยขอมูลเกี่ยวกับอายุ ชั้นปที่กําลัง
ศึกษา มีลักษณะคําตอบเปนแบบเติมคํา
สวนที่ 2 แบบประเมินสุขนิสัยเกี่ยวกับการนอนหลับ เปนแบบสอบถามที่ผูวิจัยสรางขึ้น
เองจากการทบทวนวรรณกรรม จํานวน 14 ขอ ประกอบดวยขอมูล ดานการนอนหลับ ดานการ
รับประทานอาหาร ดานการออกกําลังกาย โดยใชแบบวัดมาตราสวนประมาณคา (rating scale)
5 ระดับ ไดแก ปฏิบัติเปนประจํา ปฏิบัติบอยครั้ง ปฏิบัติพอประมาณ ปฏิบัตินานๆ ครั้ง ไม
ปฏิบัติเลย
สวนที่ 3 แบบประเมินปจจัยดานสิ่งแวดลอมทางกายภาพ เปนแบบสอบถามที่ดัดแปลง
มาจาก ตะวันชัย จิรประมุขพิทักษ (2540) จํานวน 7 ขอ ประกอบดวยขอมูลเกี่ยวกับ อุณหภูมิ
แสง เสียง กลิ่นไมพึงประสงค ความสุขสบายของเครื่องนอน แมลง/สัตว เชน ยุง มด และความ