Page 15 - JRIHS VOL2 NO1 January-March 2018
P. 15

10  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.1 January-March 2018

                                   - สุขภาพ ใหออกกําลังแอโรบิกติดตอกัน 30 นาที ชีพจร 50%
                                   - อวน ใหออกกําลังแอโรบิกติดตอกัน 60 นาที ชีพจร 20-30%

                                   - เบาหวาน ใหออกกําลังแอโรบิกติดตอกัน 20 นาที ชีพจร 60%
                     การออกกําลังกายที่บั่นทอนตอสุขภาพจึงไมใชการออกกําลังกายที่เหมาะสม การออก
             กําลังกายพอควร เชน เดิน หรือ วิ่งจะเสริมภูมิคุมกันใหดีขึ้นสามารถลดความรุนแรงและ
             ระยะเวลาของ  การเปนไขติดเชื้อที่ไมรุนแรงได แตควรปฏิบัติดวยความเที่ยงตรง นั่นคือ ถารูสึก
             ไมสบาย โดยเฉพาะ ปวดเมื่อย มีไข ควรหยุดออกกําลังกาย จนกวาอาการจะดีขึ้น ถามีอาการ

             เปนหวัดมีน้ํามูกเล็กนอย การออกกําลังกายอาจทําใหอาการขึ้นได อยางไรก็ตามไมควรออกกําลัง
             กายเปนเวลานานๆ เนื่องจากจะไปปรับสมดุลของการระบบภูมิคุมกันใหไมสมดุล (กิตติ ตระกูล
             รัตนาวงศ, 2552)


             บทสรุป
                     การออกกําลังกาย (Exercise) เปนปจจัยพื้นฐานสําคัญของการใชพลังงานรางกาย มี
             ผลดีตอสุขภาพของมนุษย ควรปฏิบัติใหเหมาะสมกับชวงอายุสภาวะสุขภาพของรางกายปฏิบัติ

             อยางตอเนื่องและสม่ําเสมอไมหักโหมควรมีการเคลื่อนไหวทุกสวนของรางกายเพื่อสงเสริมให
             หัวใจสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงสวนตาง ๆ ของรางกายไดอยางทั่วถึง แตการออกกําลังกายไมถูกวิธี
             กอใหเกิดการบาดเจ็บจากการออกกําลังกาย และการเลนกีฬาไดเชนกันดังนั้นควรออกกําลังกาย
             ใหเหมาะสมกับชวงอายุ สภาวะสุขภาพของรางกาย ปฏิบัติอยางตอเนื่อง และสม่ําเสมอ ไมหัก

             โหม ควรมีการเคลื่อนไหวทุกสวนของรางกายเพื่อสงเสริมใหหัวใจสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงสวนตาง ๆ
             ของรางกายไดอยางทั่วถึงควรออกกําลังกายเปนระยะเวลาอยางนอย 150 นาทีตอสัปดาห ดวย
             ความแรงระดับปานกลาง หรือความแรงระดับมากเพื่อสงเสริมใหรางกายใชพลังงานจาก
             คารโบไฮเดรตและไขมันไดอยางมีประสิทธิภาพ หากไมสามารถออกกําลังกายไดอยางสม่ําเสมอ

             ก็อาจประยุกตใชกิจกรรมในชีวิตประจําวันที่มีอยูหลากหลาย โดยหลีกเลี่ยงสิ่งอํานวยความ
             สะดวก เครื่องทุนแรงตาง ๆ
                     ขอเสนอแนะ การขาดการออกกําลังกายอาจนําไปสูปจจัยเสี่ยงตอการเปนโรคเรื้อรัง
             หลายโรคอันเปนสาเหตุสําคัญของการเสียชีวิตได ดังนั้นควรตองมีการออกกําลังกายอยางถูกตอง

             เหมาะสมกับวัยเพศ และสภาวะสุขภาพตอไป

             เอกสารอางอิง
             กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2553). คูมือพิชิตอวน พิชิตพุง. กรุงเทพฯ: สํานัก

                     พระพุทธศาสนา  แหงชาติ.
             กิตติ ตระกูลรัตนาวงศ. (2552). ออกกําลังกายอยางไร ใหเสริมภูมิคุมกันรางกาย. สืบคนจาก
                     http://www.vibhavadi.com/mobi/health_detail.php?id=369
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20