Page 12 - JRIHS VOL2 NO1 January-March 2018
P. 12

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018   7

                กายโดยใชความแรงมากนอยเพียงใดนั้นขึ้นอยูกับความสามารถเดิม หลักการคํานวณความแรง
                ของ     การออกกําลังกายที่นิยม  คือ  ใชคาอัตราการเตนของหัวใจเปาหมายหลัก โดยอัตราการ

                เตนของหัวใจเปาหมายสามารถคํานวณไดจากอัตราการเตนสูงสุดของหัวใจเทากับ 220 - อายุ
                (ป) เปนการวัดดูอัตราการเตน ของหัวใจขณะออกกําลังกาย  ซึ่งมีความสัมพันธโดยตรงกับการใช
                ออกซิเจนอยางเพียงพอและปลอดภัยโดยแบงขนาดของการออกกําลังกายเปน 3 ระดับ  คือ
                               2.1 ระดับต่ํา (Low Interaity) หมายถึง เมื่อออกกําลังกายแลวหัวใจเตน
                ประมาณรอยละ 50-60 ของอัตราการเตนของหัวใจสูงสุด

                               2.2 ระดับปานกลาง ( Moderate Intersity ) หมายถึง เมื่อออกกําลังกายแลว
                หัวใจเตนประมาณ  รอยละ 66-85 ของอัตราการเตนของหัวใจสูงสุด
                               2.3 ระดับสูง (High Intersity) หมายถึง เมื่อออกกําลังกายแลวหัวใจเตน

                มากกวารอยละ 85 ของอัตราการเตนของหัวใจสูงสุด
                                 ทั้งนี้ในสวนของการวัดถึงความแรงหรือความหนักของการออกกําลังกายนี้
                วิทยาลัย   เวชศาสตรการกีฬาแหงสหรัฐ (ACSM,1995) ไดเสนอใหประเมินจากความรูสึกเหนื่อย
                หัวใจเตนเร็วจนถึงระดับอัตราการเตนของหัวใจที่ เปนเปาหมายของบุคคลนั้น การประเมินโดย

                ใชวิธีการทดสอบการพูด (Talk Test) โดยการประเมินได 3 ระดับคือ
                               ระดับเบา โดยไมทําใหรูสึกเหนื่อยหรืออาจเหนื่อยเล็กนอยหรือสามารถรอง
                เพลงขณะออกกําลังกายได
                               ระดับปานกลาง ทําใหรูสึกเหนื่อยพอประมาณ (หายใจแรงขึ้นกวาปกติ

                เล็กนอยหรือพูดคุยกับคนขางเคียงจนจบประโยค)
                               ระดับหนัก ทําใหรูสึกเหนื่อยมากหรือหอบ (หายใจเร็วและแรงทางปากหรือ
                หายใจทางปากหรือไมสามารถพูดคุยกับคนขางเคียงไดจนจบประโยค)
                               3. หลักของระยะเวลาหรือความนานของการออกกําลังกาย (Time or Duration of

                Exercise) เปนหลักของชวงเวลาในการออกกําลังกาย โดยทั่วไปควรอยูในระหวาง 20–60 นาที
                และมีความตอเนื่องซึ่งจําแนกออกเปน 3 ชวงหรือ 3 ขั้นตอนตอเนื่องดังนี้
                               3.1 ระยะอบอุนรางกาย (Warm up Phase) เปนชวงเวลาสําหรับการเตรียม
                ความพรอมของรางกายกอนการออกกําลังกายจริงหรือเต็มที่ เพื่อใหเกิดคุณภาพสูงสุดเมื่อออก

                กําลังกายจริงทําใหการประสานงานระหวางกลามเนื้อหดรัดตัวดีขึ้น การเคลื่อนไหวของขอตาง ๆ
                คลองแคลว ระยะนี้ใชเวลาประมาณ 5-10 นาที สําหรับลักษณะของการออกกําลังกายใชอบอุน
                รางกาย เชน การเดินชา ๆ หรือการออกกําลังกายยืดกลามเนื้อตาง ๆ โดยเฉพาะบริเวณแขน ขา
                เพื่อลดอาการบาดเจ็บขณะออกกําลังกาย ในการอบอุนรางกายจําเปนตองคํานึงถึงอุณหภูมิของ

                สิ่งแวดลอมดวย ถาสภาพแวดลอมมีอาการรอนอาจใชเวลานอย แตถาอากาศหนาวจําเปนตองใช
                เวลานานมากขึ้นไปดวย
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17