Page 19 - JRIHS VOL2 NO1 January-March 2018
P. 19
14 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018
ตอองคกรจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) ใน
ยุทธศาสตรหนึ่งของแผนพัฒนาฯ ซึ่งมีความสุขเปนเปาหมายหลักได กลาวถึงยุทธศาสตรการ
พัฒนาประเทศ ที่มาจากการพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทย และไดสืบเนื่องมาถึงแผนพัฒนาฯ
ฉบับที่ 12 จะมียุทธศาสตรที่ 1: การเสริมสรางและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย จึงทําใหเห็นวา
การทํางานอยางมีความสุขจะเปนเรื่องสําคัญที่บุคลากรทุกคนในองคกรหรือในทุกสถานที่ทํางาน
ตางปรารถนา คนสวนใหญคงไมมีใครที่จะปฏิเสธไดวาหากไดทํางานอยางมีความสุขในที่ทํางาน
บุคลากรในองคกรหรือหนวยงานนั้นๆ จะรูสึกวามีความสุขในการทํางาน จะสงผลใหรูสึกผูกพัน
สนุกสนาน และอาจมองไดวาความรูสึกที่วามาทํางานจะหมดไป แตจะกลับกลายเปนการมารวม
สนุกกับกิจกรรมตาง ๆ เพื่อความสําเร็จของตนเอง กลุม พวกพอง และหนวยงานหรือองคกรที่
เปรียบเสมือนบานหลังที่สอง (ชินกร นอยคํายาง, 2555) ซึ่งในปจจุบันกระแสการสรางการ
ทํางานอยางมีความสุขในไดเริ่มแพรหลายมากขึ้น การทํางานอยางมีความสุขจะเพื่อสรางผลผลิต
หรือผลประกอบการที่ยั่งยืน สรางแรงจูงใจในการทํางานใหแก บุคลากร เจาหนาที่ทุกระดับใน
หนวยงานหรือองคกร โดยจะทําใหบุคคลากรเหลานั้นรูสึกถึงการมีสวนรวมในการทํางาน รูสึก
ทํางานแลวมีความสุข รูสึกถึงความมั่นคงในงาน การเจริญเติบโตกาวหนา และกระตือรือรนที่จะ
ปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมาย สนุกสนานกับงาน รวมถึงมีความสัมพันธอันดีกับเพื่อนรวมงาน ทํา
ใหเกิดสภาพแวดลอมที่ดีในการทํางาน ที่เอื้ออํานวยใหเกิดความสุขในการทํางาน ลดความเครียด
และความขัดแยงในองคกร ซึ่งชวยใหหนวยงานหรือองคกรมีความเจริญกาวหนาและพัฒนาได
อยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (ปรียาพร วงศอนุตรโรจน, 2544, จรรยา ดาสา, 2552)
ยาเสพติดกอใหเกิดความเสียหายทางดานทรัพยากรมนุษย ความสูญเสียทางดาน
เศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของชาติ ซึ่งทางรัฐบาลและทุกภาคสวนที่เกี่ยวของก็ได
ดําเนินการอยูอยางตอเนื่องเพื่อชวยลดปญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น ในการแกปญหายาเสพติด
ใหโทษที่ไดผลนั้นจะตองดําเนินการไปพรอม ๆ กันทั้ง 3 ดาน คือ การปราบปราม การปองกัน
และการบําบัด จะเห็นไดวาในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 12 ในเรื่องการ
สรางเสริมสุขภาพของประชาชนเนนการฟนฟูสมรรถนะและสมรรถภาพของคนในประเทศให
เปนทรัพยากรที่มีคุณคาของชาติ (สถาบันธัญญารักษ, 2559) รวมถึงพระราชบัญญัติฟนฟู
สมรรถภาพผูติดยาเสพติด พ.ศ.2545 คณะกรรมการฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด จึงออก
ระเบียบไววาดวยการตรวจพิสูจน การฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด การควบคุมตัว และการ
ปฏิบัติตอผูเขารับการตรวจพิสูจนและผูเขารับการฟนฟูสมรรถภาพ ผูติดยาเสพติด (ฉบับที่ 6)
พ.ศ. 2559 “ใหสงบุคคลผูติดยาเสพติดเขารับการฟนฟูตามแผนการที่พนักงานเจาหนาที่จะ
กําหนดใหเหมาะสมกับสภาพของผูเขารับการฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด” ในปจจุบัน
ประเทศไทยก็ไดใหความสําคัญในการแกไขปญหายาเสพติดจึงมีการวางนโยบายหลายดาน เพื่อ
ปองกัน ปราบปราม และฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติดควบคูกันไปโดยกรมคุมประพฤติ
กระทรวงยุติธรรมเปนอีกหนวยงานหนึ่งที่รับผิดชอบในดานการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติด ซึ่งได