Page 20 - JRIHS VOL2 NO1 January-March 2018
P. 20
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018 15
เปลี่ยนแนวคิดและนโยบายจากเดิมที่เนนวิธีการลงโทษมาเปนวิธีการบําบัดฟนฟู จึงเปนการเปด
โอกาสใหผูที่เคยพลาดพลั้งไดปรับปรุงตัว (สุพจนี ชุติดํารง, 2544) ซึ่งปจจุบันมีการบําบัดรักษา
ยาเสพติดจะมีสถานบําบัดรักษาผูติดยาเสพติด สามารถขอรับการบําบัดรักษาไดตาม
สถานพยาบาลตาง ๆ จะเห็นไดวาในประเทศไทยนั้น ไดดําเนินการแกไขปญหาการติดยาเสพติด
โดยการจัดสถานที่บําบัดรักษาอาการทางรางกายของผูติดยาเสพติดไวเกือบทุกจังหวัด ทั้ง
หนวยงานภาครัฐ เอกชน องคกรอิสระ ตลอดจนมูลนิธิที่ชวยเหลือดานยาเสพติดตาง ๆ โดย
วิธีการบําบัดยาเสพติดจะมี 4 ขั้นตอน ดังนี้ คือ 1) ขั้นเตรียมการ เปนขั้นตอนการชี้แจงใหผูปวย
ยาเสพติดและครอบครัวเขาใจวิธีการบําบัดรักษา แนะนําและทําการเตรียมความพรอมเพื่อเขา
รับการบําบัด 2) ขั้นถอนพิษยา ผูปวยจะไดรับการดูแลอยางจริงจังทางดานรางกาย 3) ขั้นฟนฟู
สมรรถภาพ เปนขั้นตอนที่ตอเนื่องจากการถอนพิษยา โดยมุงใหผูปวยหลุดพนจากการเสพติดทั้ง
ทางกายและจิตใจ โดยการฟนฟูสมรรถภาพยึดถือหลักการบําบัดรักษาผูปวยยาเสพติดในแบบ
องครวม ซึ่งนอกจากการรักษารางกายใหฟนสภาพแลว ยังตองอาศัยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ความคิด ความรูสึก ซึ่งเปนองคประกอบที่จะสงผลใหผูปวยสามารถเลิกยาเสพติดไดอยางถาวร
4) ขั้นติดตามผลหลังรักษาเปนกระบวนการติดตามและชวยเหลือผูปวยที่ผานขั้นฟนฟู
สมรรถภาพแลว เพื่อปองกันการกลับไปเสพซ้ํา ดังนั้นจะเห็นไดวาในปจจุบันการทํางานของ
โรงพยาบาลนั้นไมใชแคดูแลผูปวยที่มีความเจ็บปวยในดานรางกายและรักษาพยาบาลผูปวยที่
เปนโรคติดเชื้อและไมติดเชื้อเทานั้น แตหลากหลายโรงพยาบาลนั้นยังตองพัฒนาตนเองและตอง
ทําหนาที่ในการเปนหอผูปวยเพื่อฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด เปนลักษณะการทํางานที่จะ
แตกตางจากโรงพยาบาลทั่วไปจึงใหบุคลากรตองคนควาหาและปรับเปลี่ยนบทบาทใหมเพื่อกาว
ไปสูการเปนบุคลากรที่มีคุณภาพ สงผลใหเจาหนาที่รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงดังกลาว
และอาจสงผลตอความสุขในการทํางานตามมา ซึ่งหากเจาหนาที่ยังคงตองทํางานดวยความรูสึก
ที่ไมมีความสุขกับการทํางาน และขาดความมั่นใจกับระบบขององคกรเชนนี้แลว อาจทําให
พยาบาลขาดพลังในการทํางาน ขาดพลังความคิดสรางสรรคที่จะพัฒนางานประจําเพื่อการดูแล
ผูปวยที่ดีขึ้นเพราะการทํางานโดยปราศจากความสุข พฤติกรรมที่แสดงออกในการทํางาน คือ
บุคลากรขาดความตั้งใจและใสใจในงานทายสุดอาจสงผลใหเกิดความผิดพลาดในการทํางานและ
นั่นหมายถึง ความไมปลอดภัยที่จะเกิดขึ้นกับผูปวยตามมา (Schermerhorn, 2008; Windle,
2008)
จากเหตุผลดังกลาวในขางตนประกอบกับการที่ผูวิจัยไดมีโอกาสลงพื้นที่และเขารวม
กิจกรรมการบําบัดฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด แตเมื่อมีโอกาสไดพูดคุยกับบุคลากรที่ทํางาน
ในหนวยงานหอผูปวยฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด จะพบวาบุคลากรเหลานี้ยังคงมีความ
ตองการที่จะทําหนาที่อยาเต็มที่และใหเกิดประสิทธิภาพในการทํางานและเกิดประสิทธิผลของ
งานโดยที่จะพยายามชวยใหผูปวยเลิกเสพยาเสพติดใหไดในที่สุด อีกทั้งจะพยายามทําหนาที่
อยางเต็มที่ในการฟนฟูสภาพรางกายและจิตใจของผูเสพยาเสพติด ใหกลับมาดํารงชีวิตที่ปกติสุข