Page 9 - JRIHS VOL2 NO1 January-March 2018
P. 9

4  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.1 January-March 2018

                     จะเห็นไดวาการออกกําลังกายสามารถแบงไดเปนหลายประเภท ไดแก การออกกําลัง
             กายเพื่อเสริมสรางสมรรถภาพความอดทนของหัวใจและปอด การออกกําลังกายเพื่อเสริมสราง

             ความแข็งแรงและความอดทนของกลามเนื้อ และการออกกําลังกายเพื่อสรางเสริมความออนตัว
             และความยืดหยุนของกลามเนื้อ
                     วัตถุประสงคของการออกกําลังกาย
                      แบงเปน 4 อยาง ดังนี้ (สํานักวิทยาศาสตรการกีฬา, 2550)
                         1. การออกกําลังกายเพื่อการบําบัดรักษา มีจุดมุงหมายเพื่อการบําบัดรักษาผูที่มี

             ปญหาสุขภาพหรืออาการเจ็บปวยดวยโรคไมติดตอ เชน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรค
             ภูมิแพ โรคอวน โรคปวดหลัง ฯลฯ ซึ่งการแพทยแผนปจจุบันยอมรับและใชวิธีการออกกําลังกาย
             เปนสวนหนึ่งในการรักษาอาการของโรคดังกลาว เพื่อลดการใชยาใหนอยลงและสรางภูมิ

             ตานทานใหรางกาย
                         2. การออกกําลังกายเพื่อฟนฟูสภาพรางกาย การออกกําลังกายประเภทนี้จะ
             กระทําตอจากการบําบัดรักษาหรือภายหลังจากอาการเจ็บปวยทุเลาลง จนกระทั่งหายเปนปกติ
             เพื่อกระตุนใหรางกายกลับคืนสูสภาพที่แข็งแรงเปนปกติ เชน อาการบาดเจ็บจากการเลนกีฬา

                         3. การออกกําลังกายเพื่อการเสริมสรางรางกายใหแข็งแรงอดทน การออกกําลัง
             กายประเภทนี้ มุงสรางเสริมสุขภาพและสมรรถภาพทางกายใหเพิ่มขึ้น รวมทั้งการออกกําลังกาย
             เพื่อพัฒนาความอดทนของระบบหายใจและไหลเวียนเลือด การสรางเสริมความแข็งแรง ความ
             อดทน และความออนตัวของกลามเนื้อ

                         4. การออกกําลังกายเพื่อพัฒนาขีดความสามารถสูงสุดของรางกาย การออกกําลัง
             กายประเภทนี้ สวนใหญเปนการออกกําลังกายที่มุงพัฒนาทักษะและสมรรถภาพการเคลื่อนไหว
             รางกายของแตละบุคคล ใหพัฒนาไปสูศักยภาพสูงสุดในแตละดานที่ตองการ เชนความแข็งแรง
             ความเร็ว กําลัง ความคลองแคลววองไว ความแมนยํา การออกกําลังกายประเภทนี้ จะใชเฉพาะ

             สําหรับนักกีฬาหรือบุคคลที่มีสุขภาพพื้นฐานแข็งแรง มีการเตรียมพรอมทางดานรางกายอยาง
             เปนระบบ โดยผูฝกสอนกีฬา หรือผูเชี่ยวชาญทางดานการฝกสมรรถภาพเฉพาะดาน
                         ดังที่กลาวมาแลววา การออกกําลังกายมีหลายประเภท และหลากหลาย

             วัตถุประสงค ไดแก การออกกําลังกายเพื่อการบําบัดรักษาผูที่มีปญหาสุขภาพหรืออาการเจ็บปวย
             ดวยโรคไมติดตอ การออกกําลังกายเพื่อฟนฟูสภาพ เพื่อกระตุนใหรางกายกลับคืนสูสภาพที่
             แข็งแรงเปนปกติ การออกกําลังกายเพื่อการเสริมสรางรางกายใหแข็งแรงอดทนและการออก
             กําลังกายเพื่อพัฒนาขีดความสามารถสูงสุดของรางกาย
                         การออกกําลังกายอยางถูกตองและเหมาะสมพอเหมาะจะชวยปองกันและแกไข

             ความเสี่ยงดังกลาว ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการออกกําลังกายแบบปลอดภัยจึงมีความสําคัญและ
             จําเปนอยางยิ่ง
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14