Page 8 - JRIHS VOL2 NO1 January-March 2018
P. 8

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018   3

                        กรอบแนวคิดในการศึกษา การออกกําลังกายแบบสมดุลเปนสวนหนึ่งของชีวิตที่สําคัญ
                และจําเปนสําหรับบุคคลทุกเพศทุกวัย ทุกคนควรใหความใสใจในการดูแลสรางเสริมสุขภาพ การ

                ออกกําลังกายจึงเปรียบเสมือนอาหารที่ชวยหลอเลี้ยงรางกายและจิตใจใหมีความสมบูรณ
                แข็งแรงการออกกําลังกายที่ดีมีคุณคาและกอใหเกิดประโยชนตอรางกายอยางแทจริง ผูออก
                กําลังกายควรเลือกรูปแบบและกิจกรรมการออกกําลังกายใหเหมาะสม
                        การออกกําลังกาย (Exercise)
                            รางกายจะแข็งแรงตองออกกําลังกายเคลื่อนไหวคําวา “ออกกําลัง” ใน

                ภาษาอังกฤษใชคําวา “Exercise” ซึ่งแปลวา “การออกกําลัง” ถาเนนที่การออกกําลังกายใชคํา
                วา “Physical Excercise” (พระมหาสมพงษ สนฺตจิตฺโต และอุทัย สุดสุข, 2555)
                            การออกกําลังกายมีหลายอยาง เชน การเตนแอโรบิก (เพื่อสุขภาพ) ไดประโยชน

                ตาง ๆมากมายทําใหรางกายกระชับฉับไว ทําใหกลามเนื้อแข็งแรง และมีสมาธิอีกดวย (เสก อักษรานุ
                เคราะห,  2559) นอกจากนี้ยังสามารถจําแนกลักษณะการออกกําลังกายไดดังจะกลาวตอไป
                        ลักษณะของการออกกําลังกายหรือกิจกรรมทางกาย
                            การออกกําลังกายหรือกิจกรรมทางกายที่เกิดจากการทํางานของกลามเนื้อมัดใหญ

                ทําใหมีการเผาผลาญพลังงานเพิ่มขึ้นจากปกติ การออกกําลังหรือกิจกรรมทางกาย มี 3 ลักษณะ
                ดังนี้  (กรมอนามัย, 2553)
                            1. เดินและกิจกรรมพื้นฐานอื่นๆ ในวิถีชีวิตประจําวัน เชน เดินเร็ว ทํางานบาน/
                งานอาชีพที่ออกแรง 3-4 ชั่วโมง/สัปดาห หรือ 30 นาที/วัน หรือเกือบทุกวัน

                            2. การออกกําลังกายเพื่อความอดทนของหัวใจและปอด เปนการออกกําลังที่ใช
                กลามเนื้อมัดใหญซ้ําๆ กัน เปนจังหวะตอเนื่อง 2-5 ครั้ง/สัปดาห ปฏิบัติ 20-60 ครั้ง/นาที
                            3. การออกกําลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกลามเนื้อ โดยใชน้ําหนักที่สามารถ
                ยกไดบริหารกลามเนื้อมัดใหญ 8-10 ทา แตละทาใหออกกําลัง 12-20 ครั้ง/ทา

                            นอกจากนี้ สํานักวิทยาศาสตรการกีฬา (2550) ไดแบงการออกกําลังกายไวเปน 3
                ประเภท ดังนี้
                            1. การออกกําลังกายเพื่อเสริมสรางสมรรถภาพความอดทนของหัวใจและปอด

                (Cardiorespiratory Endurance) เพื่อพัฒนาคุณภาพการทํางานของหัวใจและปอดใหแข็งแรง
                ในการทําหนาที่สูบฉีดเลือดและนําอากาศเขาสูรางกายไปหลอเลี้ยงสวนตางๆ ของรางกายให
                เติบโตแข็งแรง ชวยใหรางกายสดชื่น กระปรี้กระเปราและสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ
                            2. การออกกําลังกายเพื่อเสริมสรางความแข็งแรงและความอดทนของกลามเนื้อ (Muscular
                Strength and Endurance) เพื่อพัฒนาโครงสรางของรางกายและกลามเนื้อใหแข็งแรงไดสัดสวน

                            3. การออกกําลังกายเพื่อสรางเสริมความออนตัวและความยืดหยุนของกลามเนื้อ
                (Mascular Flexibilility and Elasticity) เพื่อชวยผอนคลายอาการปวดเมื่อยและการเกร็งของ
                กลามเนื้อรวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพในการเคลื่อนไหวขอตอไดมากขึ้น ทําใหรางกายรูสึกผอนคลาย
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13