Page 7 - JRIHS VOL2 NO1 January-March 2018
P. 7

2  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.1 January-March 2018

             บทนํา
                     การออกกําลังกาย (Exercise) เปนกิจกรรมเพื่อเพิ่มหรือคงไวซึ่งความทนทานของระบบ

             ไหลเวียนโลหิตและปอดโดยมีกระบวนการใชออกซิเจนในการเผาผลาญเพื่อใหเกิดพลังงาน (Fuster
             et al., 2008) เมื่อมีการออกกําลังกายรางกายจะมีการตอบสนองโดยมีการหดตัวของกลามเนื้อลาย
             (Skeletal Muscle Contraction) ทําใหมีผลตอระบบไหลเวียนเลือดในรางกาย (McArdle et al.,
             2006) ทําใหรางกายมีความสมบูรณแข็งแรง สงผลใหกลามเนื้อและขอตอตางๆ ในรางกายมีการ
             ทํางานประสานสัมพันธกันไดดีขึ้น แตการออกกําลังกายหรือเลนกีฬาที่ไมถูกวิธี และไมเหมาะสม

             ทําใหคนจํานวนมากที่ออกกําลังกาย และเลนกีฬาแลวตองเขารับการรักษา หรือทํา
             กายภาพบําบัดเนื่องจากขาดความรูในการปองกันการบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้นไดตลอดเวลา การ
             บาดเจ็บจากการออกกําลังกายทําใหเจ็บปวดและมีผลตอสมรรถภาพทางกายลดลง ซึ่งเปนปญหา

             หนึ่งที่ทําใหบางคนไมอยากออกกําลังกายหรือเลนกีฬา ทั้งนี้อาจเปนเพราะภายหลังเลนกีฬาหรือ
             ออกกําลังกายพบอาการบางอยางเกิดขึ้น เชน ความเมื่อยหลา ปวดกลามเนื้อ ปวดเขา ขอเทา
             แพลง เนื่องจากผูออกกําลังกายหรือเลนกีฬามีความรูความเขาใจเกี่ยวกับกลไกหรือสาเหตุของ
             การบาดเจ็บทางกีฬาคอนขางนอย ขาดกระบวนการเรียนรูอยางถองแท การบาดเจ็บเปนสิ่งที่

             เกิดขึ้นไดกับการออกกําลังกายทุกรูปแบบ (การกีฬาแหงประเทศไทย, 2542)
                     การออกกําลังกาย (Exercise) เปนกิจกรรมเพื่อเพิ่มหรือคงไวซึ่งความทนทานของระบบ
             ไหลเวียนโลหิตและปอดโดยมีกระบวนการใชออกซิเจนในการเผาผลาญเพื่อใหเกิดพลังงาน
             (Fusteretal.,2008) เมื่อมีการออกกําลังกายรางกายจะมีการตอบสนองโดยมีการหดตัวของกลามเนื้อ

             ลาย (Skeletal Muscle Contraction) ทําใหมีผลตอระบบไหลเวียนเลือดในรางกาย
             (McArdleet al., 2006) การออกกําลังกายจึงเปนสิ่งที่เราควรปฏิบัติเพื่อใหเกิดผลดีตอรางกาย
             จากการศึกษาในอดีตจนถึงปจจุบันพบวายังมีกิจกรรมอีกมากมายใหเราเลือกไดตามความ
             เหมาะสมเชน เดินเร็ว วิ่ง วายน้ํา โยคะ ไทเกก เปนตน แตตองอยาลืมวากิจกรรมนั้น ๆ จะตอง

             ไมเปนอันตรายตอสุขภาพ (ศิริมา เขมะเพชร,2553)  ดังนั้นการออกกําลังกายอยางถูกตองและ
             พอเหมาะเปนทางหนึ่งที่ชวยปองกันและแกไขความเสี่ยงดังกลาว ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการออก
             กําลังกายแบบปลอดภัยจึงมีความสําคัญและจําเปนอยางยิ่ง
                     การทบทวนวรรณกรรมและผลงานวิจัยเกี่ยวกับการออกกําลังกาย ถึงแมวาจะมี

             การศึกษาถึงผลของการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ แตอยางไรก็ตามยังขาดการศึกษาเกี่ยวกับผลของ
             การออกกําลังกายแบบสมดุล จึงเปนที่มาของการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาเกี่ยวกับการ
             ออกกําลังกายแบบสมดุล เปนแนวทางในการสงเสริมสุขภาพทางดานรางกายและจิตใจ ดวยการออก
             กําลังกายแบบสมดุล

                     ขอบเขตของการศึกษา เปนการศึกษาถึงแนวคิด ทฤษฎี และหลักการออกกําลังกาย
             แบบสมดุล ประกอบดวย ลักษณะของการออกกําลังกายหรือกิจกรรมทางกาย วัตถุประสงคของ
             การออกกําลังกาย หลักการออกกําลังอยางปลอดภัยการออกกําลังกายแบบสมดุลเพื่อสุขภาพ
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12