Page 15 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 15
10 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017
ในตัวผูรับบริการ พรอมกับสงเสริมความมั่นใจในความสามารถที่จะชวยตนเองของผูรับบริการ
ประเมินปฏิกิริยาของผูรับบริการในระยะยุติสัมพันธภาพ และใหเวลาผูรับบริการบอกถึง
ความรูสึกตางๆ ยุติ หรือสิ้นสุดสัมพันธภาพในรูปแบบของวิชาชีพ โดยบอกผูรับบริการใหชัดเจน
และเตรียมผูรับบริการใหสามารถเผชิญปญหาตางๆ ไดดวยตนเอง ในการเตรียมยุติสนทนาเพื่อ
การบําบัด นักศึกษาสามารถเตรียมยุติไดในทุกระยะของการสนทนาบําบัด โดยเฉพาะกอนถึงวัน
ยุติสัมพันธภาพ จะตองมีการเตรียมยุติสนทนาเพื่อการบําบัด
ปฏิกิริยาที่อาจพบในระยะยุติสัมพันธภาพของผูรับบริการ จากการที่ผูรับบริการไดมามี
สัมพันธภาพตอกัน ในชวงระยะเวลาหนึ่ง เมื่อสัมพันธภาพจะตองยุติ พบวาบุคคลอาจจะมี
ปฏิกิริยาบางอยาง ที่แสดงออกมาเปนพฤติกรรมใหสังเกตได ดังนี้
ก. แสดงพฤติกรรมถดถอย ไดแก แสดงพฤติกรรมใหเห็นวา ผูรับบริการรับผิดชอบ
ตนเองไมได หรือแสดงอาการตางๆ เหมือนเมื่อเริ่มตนสรางสัมพันธภาพ ซึ่งการแสดงปฏิกิริยา
เชนนี้ อาจเปนเพราะผูรับบริการไมมั่นใจในตนเอง และกังวลวาถาไมไดสนทนากับนักศึกษาเชน
เคยแลว จะทําใหอาการตาง ๆ เกิดขึ้นมาอีก
ข. แสดงพฤติกรรมโกรธ ไดแก แสดงความโกรธออกมาเปนคําพูด แสดงออกของความไม
สนใจในทาทีของนักศึกษา หรืออาจแสดงใหเห็นวาเขารับผิดชอบตนเองได ไมจําเปนตองมีผูชวย
เหลือ ซึ่งการแสดงปฏิกิริยาเชนนี้ อาจเปนเพราะผูรับบริการรูสึกวาการยุติสัมพันธภาพของนักศึกษา
เปนการปฏิเสธตัวผูรับบริการ ดังนั้นผูรับบริการตองพยายามปกปองตนเองในการถูกปฏิเสธ
ค. แสดงพฤติกรรมการยอมรับ ไดแก แสดงใหเห็นวาพรอมที่จะรับผิดชอบตนเองแสดง
การรับฟงความเห็นของนักศึกษา และพยายามหาขอมูลเพื่อเตรียมตัวในการพึ่งพาตนเอง
ปฏิกิริยาเชนนี้ จะพบไดผูรับบริการที่มีความมั่นใจ ยอมรับตนเอง พรอมรับการประเมิน และ
พยายามปรับปรุงตนเองในการเผชิญปญหาตางๆ
ขั้นตอนสนทนาเพื่อการบําบัดมี 4 ระยะ จะพบวาระยะที่ 1-3 ปญหาสวนใหญของนักศึกษา
คือ ความกลัว ความวิตกกังวล ดังนั้นการเตรียมความพรอมทางดานจิตใจ การเตรียมความรู การ
วางแผนในการสนทนาเพื่อการบําบัดแตละครั้งจึงมีความจําเปนอยางยิ่ง เมื่อเกิดปญหา นักศึกษา
ควรขอรับคําปรึกษาจากอาจารยนิเทศหรืออาจารยพี่เลี้ยงทันที ในระยะที่ 4 จะตองมีการเตรียมยุติ
สนทนากอนการยุติสนทนา เพื่อปองกันการเกิดปฏิกิริยาที่ไมพึงประสงคจากผูรับบริการ
เทคนิคสนทนาเพื่อการบําบัด
แนวคิดการสื่อสารเพื่อการบําบัดทางจิต เปนวิธีการที่ใชในบริการทางจิตเวชโดยมี
จุดประสงคเพื่อใชกระบวนการสื่อสารเปนเครื่องมือ ชวยคลี่คลายปญหาความไมสบายใจจาก
สถานการณใดสถานการณหนึ่งของผูรับบริการ โดยมีวิธีการใหผูรับบริการเกิดการเรียนรูและเขาใจ
ในปญหา การหาทางออกหรือแกปญหาดวยวิธีใหม ชวยเพิ่มพลังความเขมแข็งในตัวผูรับบริการ
การสื่อสารเพื่อการบําบัดจึงแตกตางจากการสื่อสารในทางสังคม โดยตองมีจุดประสงคชัดเจน มีการ