Page 17 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 17

12  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.1 No.3 October-December 2017

             หรือ” คํากลาวเหลานี้จะชวยใหผูรับบริการพูดระบายความรูสึกออกมา เปนคํากลาวที่สื่อ
             ความหมายวาพยาบาลเต็มใจและพรอมที่จะรับฟงผูรับบริการ

                      2. Using General Lead การใชคํากลาวนําโดยทั่วไป เปนคํากลาวนําที่ชวยกระตุนและ
             จูงใจใหผูรับบริการพูดตอ ในกรณีที่ผูรับบริการพูดแลวหยุดเงียบไป การใชคําวา “คะ” หรือ
             “หรือคะ” “แลวอยางไรตอไปละคะ” เปนการกระตุนใหผูรับบริการพูดตอไป เปนการบอกกลาว
             วา นักศึกษาพยาบาลเขาใจสิ่งที่เขาพูด และอยากใหเขาพูดตอไป สิ่งสําคัญคือ ควรเลือกใช
             เทคนิคนี้ใหเหมาะสมแกโอกาส เพราะบางโอกาสความเงียบอาจมีประโยชนมากกวา การใช

             เทคนิคนี้ควรใชแตนอย
                     3. Reflecting การสะทอน เปนการสะทอนการสื่อสารทางภาษา หรืออวัจนภาษาจาก
             ผูรับบริการซึ่ง Wilson and Knailsl (1996) ไดเสนอวา Reflecting Content การสะทอน

             เนื้อหา เปนการทวนคําพูดของผูรับบริการ เปนการใหผูรับบริการมีโอกาสไดทบทวนสิ่งที่พูดกับ
             ผูรับบริการ
                     “คุณเชื่อวาบางอยางจะดีขึ้นในเร็วๆ นี้” “คุณคิดวาสิ่งนี้จะดีขึ้นถาทํางานเสริม”
                      การสะทอนเนื้อหาบางครั้งใชในทางที่ผิด และใชมากเกินไป จะทําใหประสิทธิภาพลดลง

                      Reflecting Feeling การสะทอนความรูสึก คือแสดงความรูสึกหรือความคิดเปนคําพูด
             ในความหมายของความรูสึกในสิ่งที่ผูรับบริการกลาว
                      “น้ําเสียงของคุณ ดูเหมือนวาคุณยังโกรธพี่ชายของคุณอยู”
                     “คุณรูสึกไมสบายใจ เกี่ยวกับการออกจากโรงพยาบาล”

                     ในการสะทอนความรูสึก พยายามที่จะแยกแยะสิ่งที่ซอนอยูและความหมายแฝงที่ให
             กระจาง หรือทําใหเขาใจเนื้อหามากขึ้น
                     4. Restarting การทวนประโยค เปนเครื่องชี้ใหเห็นวานักศึกษาพยาบาลกําลังฟง
             ผูรับบริการพูด และเปนการเนนใหผูรับบริการไดยินและคิดถึงสิ่งที่ตนเองพูดออกมา

                      ผูรับบริการ “เมื่อคืนผมนอนไมหลับ”
                      นักศึกษาพยาบาล “เมื่อคืน คุณนอนไมหลับ”
                      ผูรับบริการ“ผมไมเห็นสนใจเลย ผมอยูคนเดียวในโลกก็ได”
                      นักศึกษาพยาบาล “คุณบอกวาคุณอยูคนเดียวในโลกก็ได”

                     5. Accepting การยอมรับผูรับบริการ และสิ่งที่ผูรับบริการพูด นักศึกษาพยาบาลแสดง
             ทาทีใหเขาเห็นวานักศึกษาพยาบาลมีความเขาใจและยอมรับเขา จะโดยการพยักหนารับ หรือฟง
             เฉยๆ โดยไมกลาวโตแยง การยอมรับสิ่งที่ผูรับบริการพูด ไมไดหมายความวานักศึกษาพยาบาล
             จะตองเห็นดวยเสมอไป เราสามารถที่จะ Accepting and Agree, or Accepting but Disagree

             กับผูรับบริการ แตเมื่อไมเห็นดวย ก็อยาไดโตแยงออกไปทันที การพยักหนารับ เปนการบอก
             ผูรับบริการวา เราเขาใจความรูสึกของผูรับบริการ เขาใจในสิ่งที่เขาพูดและตองการใหเขาพูดตอไป
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22