Page 11 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 11

6  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.1 No.3 October-December 2017

             การเคารพยกยองผูรับบริการจะแสดงออกโดยทาทางมากกวาการแสดงออกทางคําพูด ซึ่งประกอบ
             ไปดวย การแสดงปฏิกิริยาใหเห็นถึงทัศนคติที่ดีตอผูรับบริการ ความใสใจในผูรับบริการโดยการฟง

             ผูรับบริการอยางตั้งใจ และการระงับการตัดสินผูรับบริการ การเรียกชื่อผูรับบริการ ใหเวลากับ
             ผูรับบริการ การฟงและการตอบสนองอยางเปดเผย พยาบาลแสดงออกถึงความเคารพนับถือ
                     5. ดานการเอาใจใสผูรับบริการ (Empathy) การเอาใจใส หมายถึง การเขาใจในการ
             แสดงความคิดเห็นของบุคคลหนึ่ง โดยการแสดงออกถึงการเขาใจในความคิดความรูสึกเหมือนกับ
             ที่ผูรับบริการแสดงออก เปนจุดศูนยกลางความรูสึกของผูรับบริการ ซึ่งรวมไปถึงการเขาใจอยาง

             ถูกตองในสถานการณในมุมมองและความรูสึกของผูรับบริการ การสื่อสารเพื่อความเขาใจจาก
             พยาบาลไปยังผูรับบริการ และการตรวจสอบผูรับบริการอยางถูกตอง รับรูสถานการณของ
             ผูรับบริการ ทัศนคติ และความรูสึกไดถูกตอง การแสดงออกของความเขาใจ เปนวิธีการหนึ่งที่

             สําคัญในการฝกทักษะของนักศึกษาที่จะตองพัฒนา ซึ่งมีลักษณะซับซอนและทาทาย การเอาใจ
             ใสผูรับบริการมีแนวโนมผลลัพธทางดานบวก ผูรับบริการจะเกิดความรูสึกดีตอตนเอง เมื่อ
             พยาบาลแสดงออกถึงการเอาใจใส มีความสนใจ ใสใจในการฟงอยางมีสติ มีความตั้งใจ พยายาม
             ที่จะรูสึกเขาใจในเหตุการณของผูรับบริการ นักศึกษาชวยใหผูรับบริการกระจางในความคิด

             ความรูสึกเกี่ยวกับประสบการณ ผูรับบริการมีความรูสึกปลอดภัยเพียงพอที่จะแบงปนความรูสึก
             และนักศึกษาฟงอยางเขาใจ เมื่อรูสึกดีขึ้น ความเครียดลดลง นําไปสูความจริง สามารถทําใหเกิด
             การสัมพันธภาพเพื่อบําบัดรวมกัน โดยใชเทคนิคการสื่อสารเพื่อการบําบัด เชน การสะทอน
             ความรูสึก การทวนซ้ํา การทําใหเกิดความกระจาง ซึ่งจะชวยใหพยาบาลสื่อสารความรูสึกเขาใจ

             ไปยังผูรับบริการ
                     การพัฒนาองคประกอบสัมพันธภาพสัมพันธภาพเพื่อการบําบัดทั้ง 5 องคประกอบเปน
             สิ่งสําคัญ เพื่อนําไปสูการสรางสัมพันธภาพเพื่อการบําบัดอยางมีประสิทธิภาพ


             ขั้นตอนสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด
                     บางความคิดเห็นไดแบงระยะสนทนาเพื่อการบําบัดเปน 3 ขั้นตอน บางความคิดเห็นมี 4
             ขั้นตอน ซึ่งระยะสนทนา 4 ขั้นตอน พบวามีระยะเตรียมการสรางปฏิสัมพันธเพิ่มขึ้นมา ซึ่งระยะ
             เตรียมการสรางปฏิสัมพันธเปนระยะที่สําคัญ มีการเตรียมความพรอมของนักศึกษา ซึ่งเปนสิ่ง

             สําคัญในการสรางสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด ดังเชน การเตรียมความรูเกี่ยวกับสัมพันธภาพเพื่อ
             การบําบัด การศึกษาขอมูลเบื้องตนของผูรับบริการ การตั้งวัตถุประสงคในการสนทนาเพื่อการ
             บําบัด การเลือกสถานที่ในการสนทนาเพื่อการบําบัด ระยะของการสรางสัมพันธภาพที่มี 4 ระยะ
             อางอิงตามแนวทางของ Varcarolis and Others (2005 ) และ Stuart (2009) มีดังนี้

                      1. ขั้นเตรียมการสรางปฏิสัมพันธ (Pre Orientation Phase)
                     ในระยะนี้เปนชวงเวลาที่นักศึกษาไดรับมอบหมายใหเขาไปชวยเหลือผูรับบริการ โดย
             การสรางสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด นักศึกษาจึงควรวางแผนและเตรียมตัว ซึ่งในระยะนี้
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16