Page 14 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 14

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017   9

                       ปญหาที่พบบอยและแนวทางแกไข
                       ปญหาที่เกิดขึ้นบอยในระยะแกไขปญหาคือ

                       1. ความวิตกกังวลของนักศึกษา อาจเกิดไดจากการไดรับเรื่องราวของผูรับบริการมากขึ้น
                ทําใหนักศึกษาบางคนใหความเห็นอกเห็นใจมากเกินไป เกิดความรูสึกรวมกับผูรับบริการมาก
                เกินไป ซึ่งเปนผลเสียกับการบําบัดรักษา
                       แนวทางแกไข นักศึกษาตองตระหนักและรูจักตนเองขณะสนทนา ใชความรูสึกรวม
                (Empathy) ใหเกิดประโยชน และแยกความแตกตางระหวางความรูสึกรวม และความรูสึกเห็น

                อกเห็นใจ (Sympathy)
                       2. การวินิจฉัยปญหาที่แทจริงไมได ในบางครั้งผูรับบริการไมไดบอกขอมูลใหชัดเจน
                เทาที่ควร และนักศึกษาเองยังไมมีทักษะในการสื่อสาร ทําใหไมสามารถวินิจฉัยปญหาได

                       แนวทางแกไข การสนทนาเพื่อการบําบัด นอกจากการบันทึกขอมูลและการวิเคราะหใน
                การสนทนา นักศึกษาควรหมั่นหาความรูเพิ่มเติม รวมทั้งการแลกเปลี่ยนประสบการณกับ
                นักศึกษาอื่น การประชุมปรึกษาหารือกับผูเชี่ยวชาญ จะชวยแกไขปญหาดังกลาว
                       3. ผูรับบริการชื่นชอบหรือรักใครในตัวนักศึกษา ผูรับบริการชายที่ขาดการติดตอ

                ภายนอกนานๆ โดยเฉพาะผูรับบริการที่อายุรุนราวคราวเดียวกันกับนักศึกษา การพบปะกันและ
                ไดรับการเอาใจใสเพื่อสรางสัมพันธภาพ อาจทําใหชื่นชอบหรือรักใครในตัวนักศึกษา
                       แนวทางปองกันและแกไข นักศึกษาจําเปนที่จะตองระมัดระวังในเรื่องกิริยามารยาท
                ตลอดจนการแตงกายที่ไมกอใหเกิดการยั่วยุในอารมณทางเพศแกผูรับบริการหรือรับของขวัญ

                จากผูรับบริการ เพราะอาจทําใหผูรับบริการเขาใจผิด นักศึกษาควรไดทบทวนจุดมุงหมายในการ
                สรางสัมพันธภาพใหผูรับบริการเขาใจ ไมควรบอกที่พักอาศัย หรือการติดตอกับผูรับบริการ โดย
                โทรศัพทมือถือ แอปพลิเคชั่นไลน เฟสบุค หรือชองทางอื่นๆ ในการติดตอกับผูรับบริการ
                        4. ความรูสึกพึ่งพา ในระยะนี้ผูรับบริการบางรายอาจเกิดความรูสึกผูกพันในลักษณะตอง

                พึ่งพา คือ ยึดนักศึกษาไวเปนที่พึ่งมากเกินไป และอาจทําใหเกิดความวิตกกังวลตามมาไดอีกดวย
                       แนวทางปองกันการเกิดปญหา คือ นักศึกษาสนับสนุนใหผูรับบริการพึ่งพาตนเอง เลือก
                ทางออกในการแกไขปญหาดวยตัวเอง โดยนักศึกษามีหนาที่กระตุนและสนับสนุน
                       4. ระยะยุติสัมพันธภาพ

                       การยุติสัมพันธภาพ เปนขั้นตอนสําคัญของสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด สัมพันธภาพมีการ
                เริ่มตนและสิ้นสุด เมื่อถึงกําหนดระยะเวลาตามที่ตกลงกันมาถึง ในทางปฏิบัติอาจพบวามีเหตุผล
                อื่นๆ ไดอีก เชน ปญหาของผูรับบริการไดรับการแกไขแลว ผูรับบริการไปรับการชวยเหลือที่อื่นที่

                เหมาะสมกวา หรือผูรับบริการขอยุติการสรางสัมพันธภาพกอนเวลา โดยกิจกรรมในระยะนี้
                นักศึกษาควรเปดโอกาสใหผูรับบริการสรุปสิ่งที่เกิดขึ้นในกระบวนการสรางสัมพันธภาพ เชน
                ผูรับบริการมีความคิดและความรูสึกอยางไร หรือผูรับบริการไดรับอะไรบางจากการสนทนากับ
                นักศึกษา ควรสรุปในสวนที่ไดรวมกันแกปญหากับผูรับบริการ โดยมุงเนนการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19