Page 13 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 13

8  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.1 No.3 October-December 2017

             ไดแก บอกชื่อ และสถานภาพทางวิชาชีพ จุดมุงหมายเพื่อการสรางสัมพันธภาพ เวลาการสนทนา
             แตละครั้ง เชน 30 - 45 นาที จํานวนครั้งที่มาพบกันเพื่อสนทนา เชน ทุกวันอังคาร วันพฤหัส เปน

             เวลา 2 เดือน สถานที่ในการสนทนา การไมเปดเผยขอมูล หรือการรักษาความลับในเรื่องที่สนทนา
             กับผูรับบริการ สํารวจวามีปญหาอะไรที่นักศึกษาจะเขาไปชวยเหลือได การยอมรับและโตตอบ
             อยางเหมาะสม สําหรับวิธีการสนทนาของผูรับบริการแตละรายที่แตกตางกัน
                      ปญหาที่พบบอย คือ ความวิตกกังวล อาจพบไดทั้งฝายนักศึกษาและฝายผูรับบริการ
                     ฝายนักศึกษา นักศึกษามักวิตกกังวล เนื่องมาจากขาดประสบการณสัมพันธภาพเพื่อการ

             บําบัด ยังเรียบเรียงไมไดวาจะเริ่มตนอยางไร หรือดําเนินการอยางไร ไมแนใจวาจะชวย
             ผูรับบริการได กลัวผูรับบริการไมยินดีที่จะพูดคุยดวย กลัวถูกผูรับบริการทําราย
                     แนวทางแกไข อันดับแรกนักศึกษาตองมีการเตรียมความรู ศึกษาเทคนิคสนทนาเพื่อการ

             บําบัด ตรวจสอบความรูสึกตนเอง มีสติ รูจักและเขาใจตนเอง วางแผนในการเตรียมสนทนาและเริ่มตน
             การสนทนา นําขอมูลที่ไดจากการสนทนาบําบัด มาพิจารณาหรืออภิปรายรวมกับทีมผูรวมงาน การ
             พูดคุยกันระหวางผูรวมงาน หรือ Pre- conference จะชวยใหนักศึกษาเกิดความมั่นใจมากขึ้น
                     ฝายผูรับบริการ ความวิตกกังวลเกิดขึ้นไดจากผูรับบริการทางดานจิตเวช สวนใหญจะมี

             ปญหาเรื่องการไววางใจผูอื่นและการสรางสัมพันธภาพ โดยเฉพาะการพบกันครั้งแรก และเปน
             การพูดคุยกันเรื่องของผูรับบริการ ผูรับบริการบางคนอาจเห็นเปนการสูญเสียความนับถือตนเอง
             แสดงถึงความออนแอของตนเอง และ/หรือ เกิดความไมแนใจวานักศึกษาตองการอะไร นักศึกษา
             จะเชื่อถือไววางใจไดมากนอยเพียงใด จะชวยตนเองไดจริงหรือไม ความไมแนใจนี้อาจทําใหให

             ผูรับบริการทดสอบนักศึกษา โดยการแสดงพฤติกรรมหลายอยาง เชน ไมมาตามนัด มาสายหรือ
             มาพบ แตไมอยูตามกําหนดเวลา
                     แนวทางแกไข นักศึกษาตองมีทาทางเปนมิตร แสดงความใสใจผูรับบริการอยางแทจริง
             สรางความไววางใจแกผูรับบริการ

                     3. ระยะแกไขปญหา (Working Phase)
                     ในระยะแกไขปญหา นักศึกษาและผูรับบริการ มาพบกันเพื่อการสนทนาอยางสม่ําเสมอ
             ตามขอตกลงที่บอกไวกับผูรับบริการ นักศึกษาสามารถแสดงใหผูรับบริการเห็นวานักศึกษา
             ยอมรับ เขาใจ และรับฟงปญหาของผูรับบริการอยางไมมีอคติ สัมพันธภาพโดยรวมจะพัฒนาไป

             ในทางที่ดีขึ้น โดยผูรับบริการจะไววางใจนักศึกษา กลาที่จะเปดเผยตนเอง เมื่อถึงเวลานัดในการ
             สนทนา ผูรับบริการจะแสดงถึงความพรอมมากขึ้น บางรายจะมานั่งรอที่จุดนัดหมาย ในขั้นตอน
             นี้ นักศึกษาจะไดขอมูลของผูรับบริการมากขึ้น ทราบปญหาของผูรับบริการ ผูรับบริการได
             เปดเผยปญหาที่แทจริงของเขา และพรอมที่จะแกไขปญหาของตนเอง โดยนักศึกษาไดเขาไปมี

             สวนรวมในการแกไขปญหาของผูรับบริการ นักศึกษารวมกับผูรับบริการวิเคราะหหาสาเหตุ และ
             กลไกของปญหาตางๆ หาวิธีแกไขปญหา หรือปรับปรุงพฤติกรรมใหเหมาะสม และรวมกับ
             ผูรับบริการประเมินผลการแกไขปญหา
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18