Page 18 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 18

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017   13

                       เทคนิคที่ชวยกระตุนผูรับบริการใหผูรับบริการพูดระบายความรูสึก
                       บอยครั้งเราอยากเห็นผูรับบริการพูดในสิ่งที่เขากังวล Concern หรือสิ่งที่เขาคิดเขารูสึก

                ที่เขาไมไดบอกเราโดยตรง เราสามารถใชเทคนิคตอไปนี้
                       1. Sharing Observation คือ การบอกกลาวสิ่งที่นักศึกษาพยาบาลสังเกตเห็นไดในตัว
                ผูรับบริการ เชนนักศึกษาพยาบาลอาจบอกวา “ดูทาทางคุณโกรธ เมื่อคุณพูดถึงพอคุณ” หรือ
                “วันนี้คุณดูหนาตาไมคอยสดชื่น” เทคนิคนี้จะชวยใหเขาพูดถึงความรูสึกที่แทจริงของเขา
                ขณะเดียวกันนักศึกษาพยาบาลจะตองแสดงทาทียอมรับความรูสึก ที่ผูรับบริการแสดงออกมา ไม

                วาจะเปนความรูสึกดานดีหรือไมดี
                       2. Acknowledge the Patient’s Feeling รับรูความรูสึกของผูรับบริการ เปนการรับรู
                ความรูสึกของผูรับบริการ และยอมรับวาผูรับบริการมีความรูสึกเชนนี้ เปนที่ยอมรับได และไม

                ผิดปกติแตอยางใด
                       ผูรับบริการ“ที่นี่มีแตคนแปลกหนา ทาทางแปลกๆ” นักศึกษาพยาบาลอาจแสดงการ
                รับรูความรูสึกนี้โดยกลาววา
                       นักศึกษาพยาบาล“คุณรูสึกไมปลอดภัยขณะอยูโรงพยาบาล”

                        3. Questioning การถาม เปนคําถามโดยตรงที่พูดกับผูรับบริการ แตถาใชมากเกินไป
                คําถามจะควบคุมการตอบสนองของผูรับบริการ คําถามจะมีประโยชนในการคนหาขอมูล
                เฉพาะเจาะจง เมื่อคุณมุงมั่นที่จะเขาไปในประโยคสนทนาที่มีความหมาย คําถามนี้มีขอจํากัด
                        เมื่อใชคําถามควรจะถามเปนประโยคปลายเปดมากกวาปลายปด “Open – Ended

                Question”
                        “คุณรูสึกอยางไรที่แมของคุณพูดกับคุณอยางนั้น” “คุณมีความคิดเห็นอยางไรเกี่ยวกับ
                ......”
                       “Closed Question” มีขอจํากัดในการตอบสนองของผูรับบริการ เชน “ใช หรือ ไม”

                       คําถามวา “ทําไม” เปนคําถามที่มีผลกระทบมาก ผูรับบริการมักจะไมตอบตามความ
                จริง ทําใหความเขาใจในสถานการณไมชัดเจน อยางไรก็ตาม “ใคร” “อะไร” “เมื่อไหร” และ
                “อยางไร” อาจนํามาใชตั้งคําถามได
                        4. Actively Listening การฟงอยางตั้งใจ เปนการฟงโดยไมมีความคิดโตแยง ในสิ่งที่

                ผูรับบริการพูดหรือทํา ใหความใสใจซึ่งเปนเปาหมายหลักของการฟง ในขอผิดพลาดที่พบใน
                นักศึกษาพยาบาลที่ขาดประสบการณ มีการวางแผนที่สับสน ไมทราบวาตอไปตนเองจะพูดอะไร
                ใหความใสใจในตนเอง ปองกันตนเองจากการไดยินวาคนอื่นพูดอะไร และใชอวัจนภาษา
                ถึงแมวาสิ่งที่เขาพูดจะไมสําคัญ แทจริงแลวไมวาผูรับบริการจะพูดอะไรนั้นเปนสิ่งสําคัญมาก ถา

                นักศึกษาพยาบาลไมฟงจะไมสามารถเขาใจสิ่งที่เขาพูดได ถานักศึกษาพยาบาลไมเขาใจคําพูด
                ของเขา นักศึกษาพยาบาลก็จะไมสามารถใชเทคนิคสัมพันธภาพไดอยางมีประสิทธิภาพได
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23