Page 19 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 19

14  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.1 No.3 October-December 2017

                      การฟงอยางตั้งใจจะประสบผลสําเร็จอยางสูง เมื่อไมมีการรบกวนจากสภาพแวดลอม
             จัดสภาพแวดลอมใหเงียบสงบ ปดโทรทัศน ปดประตู หลีกเลี่ยงการจดบันทึก สิ่งเหลานี้จะทําให

             นักศึกษาออกหางไกลจากผูรับบริการ และขาดขอมูลที่ผูรับบริการพูดและแสดงออก เผชิญหนา
             ผูรับบริการ ใชการสบตา ใหความสนใจ และฟงในสิ่งที่ผูรับบริการตอบสนอง
                     5. Using Silence การเงียบ ไมมีการตอบสนองหลังจากผูรับบริการพูดเสร็จ เกิดขึ้น
             หลังจาก Actively Listening เปนเทคนิคที่มีประสิทธิภาพมากในการกระตุนใหผูรับบริการ
             สื่อสาร เมื่อตองการใหผูรับบริการมีการพิจารณาวาเขาพูดอะไรออกไป เพื่อใหผูรับบริการ

             ตรวจสอบความคิด หรือใชเวลาใหผูรับบริการมีเวลาในการใสใจสิ่งอื่น สังเกตอาการทาทางที่
             เปดเผย หรือ การหาคําถามที่กระตุนใหผูรับบริการใชเวลาอยางมีประสิทธิภาพ
                      ความเงียบเปนการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ เมื่อใชในในการบําบัดที่เหมาะสม นักศึกษา

             พยาบาลที่นิ่งเงียบเพราะรูสึกอึดอัด ขาดความรู ขาดทักษะในการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
             จะตองฝกประสบการณเพิ่ม ใหมีผูตรวจการชวยเหลือ การวิเคราะหตนเอง และความตองการ
             พัฒนาความชํานาญ
                     เทคนิคที่ชวยใหนักศึกษาพยาบาลมีความเขาใจตรงกันกับผูรับบริการ

                     1. Clarifying การใหความกระจาง คือ ความพยายามในการที่จะเขาใจในคํากลาวของ
             ผูรับบริการ
                     ”คุณบอกวาคุณรูสึกเครียดมากในตอนนี้ มันมีลักษณะอยางไรสําหรับคุณ”
                      “ฉันสับสนเกี่ยวกับ.......คุณชวยเลาใหฉันฟงอีกครั้งดวยคะ”

                     2. Validating คือ การตรวจสอบวาความเขาใจของนักศึกษาพยาบาลถูกตองตรงกับ
             ความตองการความรูสึกของผูรับบริการหรือไม เชน นักศึกษาพยาบาลอาจคาดคะเนวา
             ผูรับบริการมีความรูสึกกังวลนอยลง หลังจากไดเลาเรื่องคับแคนใจตางๆ ใหนักศึกษาพยาบาลฟง
             แลวนักศึกษาพยาบาลอาจใชวิธี Validating ตรวจสอบความเขาใจ โดยการถามวา “คุณจะสบาย

             ใจขึ้นหลังจากเลาเรื่องราวตางๆ เหลานี้แลว” หรือในกรณีที่ผูรับบริการกังวลใจเพราะเกรงวา
             จะตองปวยไปตลอดชีวิต นักศึกษาพยาบาลใหความจริงเกี่ยวกับอาการปวยเจ็บ และสอบถาม
             ความรูสึกผูรับบริการเปนวิธีการ Validating เชนกัน ยกตัวอยางเชน
                     “เคาที่คุณพูดถึงคือภรรยาคุณใชไหมคะ”

                      “คุณสบายใจขึ้นหลังจากเลาเรื่องตาง ๆ นี้แลว”
                     เทคนิคที่กระตุนใหผูรับบริการคิดไตรตรองเรื่องราวของเขาใหม
                     1. Exploring การสอบถามเพื่อใหไดขอมูลกระจางขึ้น การสอบถามใหลึกและกวางขึ้นนั้น
             จะชวยทําใหผูรับบริการไดคิด ไดไตรตรองเรื่องราวของเขาใหม เชน ถาผูรับบริการบอกนักศึกษา

             พยาบาลวา “เพื่อนๆ ที่ทํางานชอบจับผิดผม” นักศึกษาพยาบาลอาจถามวา “เพื่อนๆ คุณมีเหตุผล
             อะไรหรือคะ ในการกระทําเชนนั้น” หรืออาจถามวา “เพื่อนๆ ทําเชนนั้นเพื่ออะไร” สิ่งที่สําคัญก็คือ
             ทาทางและน้ําเสียงของนักศึกษาพยาบาลจะตองมีความเปนมิตรในการใชเทคนิคนี้
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24